1.
ชื่อโครงการ: 
การพัฒนาบุคลิกภาพ และมารยาทบนโต๊ะอาหาร
2.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี คณะเกษตรศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์: 3. การพัฒนานักศึกษา
    เป้าประสงค์: คณะเกษตรศาสตร์มุ่งเน้นการสร้างสรรค์และพัฒนานักศึกษาให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าต่อสังคม มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความรู้และประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีและร็เท่ากันการเปลี่ยนแปลงของสังคม และสามารถดำรงชีพอยู้ในสังคมโลกได้อย่างมีคุณภาพและคุณธรรม
 
กลยุทธ์:  3.1 การสนับสนุนระบบการให้คำปรึกษา การทำกิจกรรมเสริมหลักสูตร ส่งเสริมด้านจริยธรรมและคุณธรรม
 
มาตรการ:  3.1.3 สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาด้านการสร้างจิตสำนึก จิตสาธารณะ ศิลปวัฒนธรรม และการพัฒนาตนเอง
 
ตัวชี้วัด:  3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา
3.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประเด็นยุทธศาสตร์:  3. การพัฒนานักศึกษา
 
กลยุทธ์:  3. การพัฒนานักศึกษา
 
มาตรการ:  3. การพัฒนานักศึกษา
 
ตัวชี้วัด:  3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา
4.
ความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น
ชื่อโครงการที่เกี่ยวข้อง: โครงการที่นำผลผลิต/ผลลัพธ์จากโครงการมาใช้
    ลักษณะโครงการ: (   ) โครงการให้ผลผลิต/ผลลัพธ์แก่โครงการอื่น
(   ) โครงการที่ต้องดำเนินร่วมกัน
( / ) โครงการที่นำผลผลิต/ผลลัพธ์จากโครงการมาใช้
5.
ประเภทโครงการ
: (   ) งานประจำ
(   ) พัฒนางานประจำ
( / ) งานผลักดันยุทธศาสตร์
6.
ลักษณะโครงการ
: ( / ) โครงการใหม่
(   ) โครงการต่อเนื่อง
7.
หลักการและเหตุผล
การเตรียมความพร้อมนักศึกษา ชั้นปีที่ 4 ก่อนจบการศึกษา จำเป็นต้องมีความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ อย่างไรก็ตาม ส่วนหนึ่งที่สำคัญ ก่อนออกไปทำงานคือการเรียนรู้เรื่องมารยาทการเข้าสังคม ตลอดจนการวางตัว อีกทั้งในปี 2558 ประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ดังนั้น การฝึกรับประทานอาหารแบบ European นั้น เป็นการเรียนรู้การใช้อุปกรณ์รับประทานอาหาร และเรียนรู้ขั้นตอนการรับประทานอาหารที่ถูกต้อง ตามแบบแผนของเมืองนอก ตลอดจนมารยาทในการเข้าสังคม ซึ่งน่าจะเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาสาขาพืชไร่ ในการเป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ และพร้อมทำงาน อีกทั้งเป็นการปรับตัวเข้ากับสังคม และรองรับกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได้อย่างดี และยังสามารถนำไปปรับประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวัน และชีวิตการทำงานได้เป็นอย่างดี ดังนั้น จึงขอจัดโครงการพัฒนาบุคลิกภาพ และมารยาทบนโต๊ะอาหาร ขึ้น
8.
วัตถุประสงค์โครงการ
1) เพื่อฝึกอบรมมารยาทการเข้าสังคม และการรับประทานอาหารให้แก่นักศึกษา สาขาวิชาพืชไร่ ชั้นปีที่ 4 และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
9.
กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตการดำเนินการ
กลุ่มผู้รับบริการเป้าหมาย นักศึกษา สาขาวิชาพืชไร่ ชั้นปีที่ 4 และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จำนวน 110 คน
โรงแรม Pull man จ.ขอนแก่น
10.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต
1) นักศึกษา สาขาวิชาพืชไร่ เข้าร่วม จำนวน 105 คน

ผลลัพธ์
1) นักศึกษา รู้หลักการการเข้าสังคม และการรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้อง
11.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
1) นักศึกษาและอาจารย์ที่เข้าร่วมทั้งหมด 105 คน
12.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับนโยบาย
ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรการเกษตร สาขาพืชไร่
13.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับปฏิบัติการ
ดร.อโนมา ดงแสนสุข
14.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม 2/10/2556
    ว/ด/ป สิ้นสุด 2/10/2556
15.
สถานที่ดำเนินการ
โรงแรมพูลแมน จ.ขอนแก่น
16.
วิธีการดำเนินการและขั้นตอนกิจกรรม
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
เดือน/ปี ที่เริ่ม-สิ้นสุด
1)
เขียนข้อเสนอโครงการตุลาคม 56 - ตุลาคม 56
2)
ขออนุมัติโครงการตุลาคม 56 - ตุลาคม 56
3)
ดำเนินการโครงการตุลาคม 56 - ตุลาคม 56
4)
เบิกจ่ายงบประมาณตุลาคม 56 - ตุลาคม 56
17.
งบประมาณ
เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
   
ลำดับที่
รายการ
งบประมาณ (บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1)
ค่าตอบแทนวิทยากร 3,000
1.2 ค่าใช้สอย
1)
ค่าอาหารว่าง อาหารกลางวัน และเครื่องดื่ม 11,760
1.3 ค่าวัสดุ
1)
ค่าวัสดุสำนักงาน1,000
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
  รวมทั้งสิ้น 15,760
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
18.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) นักศึกษาสาขาพืชไร่ ชั้นปีที่ 4 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมารยาทการเข้าสังคม ตลอดจน การรับประทานอาหารที่ถูกต้อง
19.
การติดตามประเมินผล
ประเด็นความคิดเห็น ระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำความรู้ไปใช้ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด 5 4 3 2 1 ด้านวิทยากร 1. การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากีมีความชัดเจน 14 19 5 0 0 2. ความสามารถในการอธิบายเนื้อหา 14 23 1 0 0 3. มีความครบถ้วนของเนื้อหาในการฝึกอบรม 11 23 4 0 0 4. การใช้เวลาตามทมี่กำหนดไว้ 13 21 3 1 0 5. การตอบข้อซักถามในการฝึกอบรม 11 20 7 0 0 6. สถานที่สะอาดและมีความเหมาะสม 26 11 1 0 0 7. ความพร้อมของอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ 24 14 0 0 0 8. ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม 18 18 2 0 0 9. อาหาร มีความเหมาะสม 11 17 7 3 0 10. ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องนี้ก่อนการอบรม 12 20 7 0 0 11. ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องนี้หลังการอบรม 17 19 2 0 0 12. สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ 21 14 3 0 0 13. สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดแก่ผู้ร่วมงานได้ 18 17 3 0 0 14. มีความมั่นใจและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ได้ 17 20 1 0 0 ความพึงพอใจในภาพรวมของดครงการ/กิจกรรม 16 19 3 0 0 ค่าเฉลี่ย 18 18.33 3.27 0.27 0
20.
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับโครงการ
- สถานที่ไม่ปลอดภัย - การขาดความร่วมมือจากผู้ที่เกี่ยวข้อง - การปฏิบัติงานผิดพลาดหรือล่าช้า
19.
การป้องกันความเสี่ยง
- วางแผนควบคุมความเสี่ยงและดำเนินการควบคุมความเสี่ยง ดังนี้ 1) ดำเนินการตรวจสอบความปลอดภัยของสถานที่ก่อนวันดำเนินการจริง และ ระหว่างการจัดงาน 2) นัดประชุมผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อวางแผน และการจัดโครงการ
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้ควบคุมโครงการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรเมศ บรรเทิง
ผู้ประสานงานสาขาพืชไร่
........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้อนุมัติโครงการ



........../........../..........