1.
ชื่อโครงการ: 
http://newfoundlandatlanticsalmonfishing.com/cua-car-insurance-quotes.html http://rhiannonarchard.com/average-monthly-car-insurance-rates-pennsylvania.html http://newfoundlandatlanticsalmonfishing.com/free-online-auto-insurance-quotesr.html http://neuseriverentertainment.com/swinton-insurance-dartford.html http://leftrightgroup.com/renters-insurance-best.html http://pogconsultants.com/need-auto-insurance-quotes.html
2.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี คณะเกษตรศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์: 1. ระบบบริหารจัดการที่ดี
    เป้าประสงค์: คณะเกษตรศาสตร์มีระบบบริหารจัดการที่ดี ที่สร้างคุณภาพชีวิต และความผาสุกในการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์กร (healthy organization) ควบคู่กับการสร้างธรรมาภิบาลและมาตรฐานการทำงานที่มีผลสัมฤทธิ์สูง (high performance organization)
 
กลยุทธ์:  1.1 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
 
มาตรการ:  1.1.1 การพัฒนาระบบบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์
 
ตัวชี้วัด: 
3.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประเด็นยุทธศาสตร์:  1. ระบบบริหารจัดการที่ดี
 
กลยุทธ์:  1. ระบบบริหารจัดการที่ดี
 
มาตรการ:  1. ระบบบริหารจัดการที่ดี
 
ตัวชี้วัด:  6.3 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม
4.
ความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น
ชื่อโครงการที่เกี่ยวข้อง:
    ลักษณะโครงการ: (   ) โครงการให้ผลผลิต/ผลลัพธ์แก่โครงการอื่น
(   ) โครงการที่ต้องดำเนินร่วมกัน
( / ) โครงการที่นำผลผลิต/ผลลัพธ์จากโครงการมาใช้
5.
ประเภทโครงการ
: (   ) งานประจำ
(   ) พัฒนางานประจำ
( / ) งานผลักดันยุทธศาสตร์
6.
ลักษณะโครงการ
: (   ) โครงการใหม่
(   ) โครงการต่อเนื่อง
7.
หลักการและเหตุผล
เนื่องจาก สาขาพืชไร่ ภาควิชาพืชศาสตร์ฯ คณะเกษตรศาสตร์ เป็นหน่วยงานหนึ่งในมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์"มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยชั้นนำระดับโลก (World Class Research University)" มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้รับการยกย่องในระดับชาติและระดับนานาชาติว่าเป็น องค์กรที่มีคุณภาพการศึกษา การวิจัย การบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล ตลอดจนมีความสามารถในการบริหารจัดการทรัพยากร ทรัพย์สินและทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยให้เกิดประโยชน์สูงสุดและพึ่งพาตนเองได้ บุคลากรมีความรู้ความสามารถสูง มีคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่ดีในการทำงาน เป็นองค์กรที่มีสุขภาวะที่ดี มีบรรยากาศทางวิชาการบนพื้นฐานของความภักดีและผูกพันต่อองค์กร ซึ่งทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลัยจะต้องมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อาทิ การเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ การบริหารจัดการ ด้านสภาพแวดล้อมก็เป็นส่วนหนึ่งที่จะต้องมีการพัฒนาควบคู่กันไป เพื่อสร้างบรรยากาศที่ดีสำหรับบุคลากร และนักศึกษาที่เข้ามาใฝ่หาความรู้ และออกไปเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ เพื่อให้กิจกรรมของอาจารย์ และบุคลากร สาขาพืชไร่ ภาควิชาพืชศาสตร์ฯ สนับสนุนยุทธศาสตร์ของสาขาพืชไร่ จึงได้เสนอโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์แปลงทดลอง หมวดพืชไร่ ( โครงการรวมกำลังฟาร์มฝัน สรรสร้างฟาร์มสุข)
8.
วัตถุประสงค์โครงการ
1) เพื่อให้สภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ สาขาพืชไร่ ภาควิชาพืชศาสตร์ฯ คณะเกษตรศาสตร์ มีความสวยงามร่มรื่นเป็นระเบียบ
2) เพื่อเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่น่าสนใจสำหรับผู้มาติดต่องานกับคณะเกษตรศาสตร์
3) เพื่อเป็นการสนับสนุนระบบประกันคุณภาพการศึกษาคณะเกษตรศาสตร์
4) 4. เพื่อเป็นการเผยแพร่ผลงานวิจัยของคณะเกษตรศาสตร์ให้ประชาคมมหาวิทยาลัยและบุคคลภายนอกรับรู้และเกิดความตระหนักถึงความสำคัญและภาคภูมิใจในคณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่นในวาระที่เป็นคณะวิชาที่ก่อตั้งพร้อมมหาวิทยาลัยและได้ดำเนินงานมาครบ 50 ปี
9.
กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตการดำเนินการ
นักศึกษาสาขาวิชาพืชไร่ ภาควิชาพืชศาสตร์ฯ จำนวน 100 คนอาจารย์และเจ้าหน้าที่ สาขาพืชไร่ ภาควิชาพืชศาสตร์ฯ จำนวน 24 คน
หมวดพืชไร่คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
10.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต
1) อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษาสาขาพืชไร่ เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 100 คน

ผลลัพธ์
1) สภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ คณะเกษตรศาสตร์ มีความสวยงาม ร่มรื่นเป็นระเบียบ
2) บุคลากร นักศึกษามีส่วนร่วมกันรับผิดชอบภูมิทัศน์ และสภาพแวดล้อมของคณะฯ
3) ก่อให้เกิดความรัก ความสามัคคีในหมู่คณะ ซึ่งจะทำให้นักศึกษามีความเอื้อเฟื้อ เอื้ออาทรซึ่งกันและกัน และประชาคมมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตลอดจนบุคคลภายนอกรับรู้การเผยแพร่ผลงานของสาขาพืชไร่ ภาควิชาพืชศาสตร์ฯ
11.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
12.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับนโยบาย
ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรการเกษตร สาขาพืชไร่
13.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับปฏิบัติการ
นายวัชชิระ สอนผา
14.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม 1/11/2556
    ว/ด/ป สิ้นสุด 31/3/2557
15.
สถานที่ดำเนินการ
หมวดพืชไร่ (แปลง B 14) สาขาพืชไร่ ภาควิชาพืชศาสตร์ฯ
16.
วิธีการดำเนินการและขั้นตอนกิจกรรม
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
เดือน/ปี ที่เริ่ม-สิ้นสุด
1)
ไถเตรียมพื้นที่ปลูก ขนาดพื้นที่ 7 ไร่พฤศจิกายน 56 - พฤศจิกายน 56
2)
ปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณโดยรอบ พื้นที่ 7 ไร่พฤศจิกายน 56 - ธันวาคม 56
3)
ประชาสัมพันธ์ต่อประชาคมมหาวิทยาลัยธันวาคม 56 - ธันวาคม 56
17.
งบประมาณ
ใช้เงินรายได้ของสาขาพืชไร่ ภาควิชาพืชศาสตร์ฯ
   
ลำดับที่
รายการ
งบประมาณ (บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1)
ค่าอาหารทำการนอกเวลา 12,600
1.2 ค่าใช้สอย
1.3 ค่าวัสดุ
1)
ค่าวัสดุเกษตร 4 รายการ14,950
2)
้ค่าวัสดุก่อสร้าง14,632
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
  รวมทั้งสิ้น 42,182
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
18.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) นักศึกษามีประสบการณ์และความพร้อมที่จะไปประกอบอาชีพจริง
2) นักศึกษาสาขาวิชาพืชไร่ แต่ละชั้นปี มีความสามัคคี
3) นักศึกษาได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
4) เป็นแหล่งศึกษาและเรียนรู้สำหรับบุคคลที่สนใจ
5) ทัศนียภาพหมวดพืชไร่ฝั่งติดหอพัก 8 หลังมีความสวยงาม
19.
การติดตามประเมินผล
แบบสังเกตุ
20.
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับโครงการ
งบประมาณ และสถานที่ สภาพแวดล้อม และสภาพภูมิอากาศ
19.
การป้องกันความเสี่ยง
ประชาสัมพันธ์และเชิญชวนให้นักศึกษาเห็นความสำคัญของโครงการ
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้ควบคุมโครงการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรเมศ บรรเทิง
ผู้ประสานงานสาขาพืชไร่
........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้อนุมัติโครงการ

รองศาสตราจารย์ประภัสสร เตชะประเสริฐวิทยา
รองคณบดีฝ่านบริหารและวางแผน
........../........../..........