1.
ชื่อโครงการ: 
พัฒนาเครือข่ายศิษยเก่าคณะเกษตรศาสตร์ในภูมิภาคต่างๆให้เข้มแข็ง
2.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี คณะเกษตรศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์: 8. ศิษย์เก่าสัมพันธ์
    เป้าประสงค์: คณะเกษตรศาสตร์มุ่งสนับสนุนและส่งเสริมให้ศิษย์เก่าร่วมพัฒนาคณะ ก้าวไปเป็นสถาบันชั้นนำของประเทศและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีความพร้อมสำหรับการประกอบอาชีพ
 
กลยุทธ์:  8.1 พัฒนาระบบประสานงานกับศิษย์เก่า
 
มาตรการ:  8.1.1 สนับสนุนการดำเนินงานสร้างความร่วมมือกับศิษย์เก่าในรูปแบบต่างๆ
 
ตัวชี้วัด: 
3.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประเด็นยุทธศาสตร์:  8.ศิษย์เก่าสัมพันธ์ที่ดี
 
กลยุทธ์:  8.ศิษย์เก่าสัมพันธ์ที่ดี
 
มาตรการ:  8.ศิษย์เก่าสัมพันธ์ที่ดี
 
ตัวชี้วัด: 
4.
ความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น
ชื่อโครงการที่เกี่ยวข้อง:
    ลักษณะโครงการ: (   ) โครงการให้ผลผลิต/ผลลัพธ์แก่โครงการอื่น
(   ) โครงการที่ต้องดำเนินร่วมกัน
(   ) โครงการที่นำผลผลิต/ผลลัพธ์จากโครงการมาใช้
5.
ประเภทโครงการ
: (   ) งานประจำ
(   ) พัฒนางานประจำ
( / ) งานผลักดันยุทธศาสตร์
6.
ลักษณะโครงการ
: ( / ) โครงการใหม่
(   ) โครงการต่อเนื่อง
7.
หลักการและเหตุผล
เนื่องด้วยปัจจุบันบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาด้านสัตวศาสตร์ มีการแข่งขันด้านตลาดงานที่สูงขึ้น อันเป็นผลเนื่องมาจากจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาทั้งประเทศมีมากขึ้น ตลอดทั้งในปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคมอาเซี่ยน (Asean Economic Community; AEC) อันจะส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของแรงงานจากต่างประเทศเข้ามาในประเทศไทยมากยิ่งขึ้น ดังนั้นเพื่อเตรียมความพร้อมกับนักศึกษาว่าที่บัณฑิต ให้เป็นผู้ที่พึงประสงค์ของผู้ประกอบการ และมีศักษยภาพในการแข่งขันทั้งในประเทศ และระดับนานาชาติ จึงมีความจำเป็นที่จะเปิดโลกทัศน์ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ที่มีประสบการณ์ และประสบความสำเร็จในการทำงานมาก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับศิษย์เก่าสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
8.
วัตถุประสงค์โครงการ
1) 1. นักศึกษามีความเข้าใจถึงสายงานของตนเองในอนาคต
2) 2. นักศึกษาทราบถึงแนวทางในการเตรียมตัวในสายงานเมื่อเข้าสู่ AEC
3) 3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสัมพันธ์อันดีระหว่างกันทั้งนักศึกษาปัจจุบันและศิษย์เก่า
9.
กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตการดำเนินการ
1. นักศึกษา ชั้นปีที่ 3 และ 4 คณะเกษตรศาสตร์ 200 คน 2. คณาจารย์และบุคลากร
10.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต
1) นักศึกษาทราบถึงแนวทางในการเตรียมความพร้อมและมีความเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้น

ผลลัพธ์
1) นักศึกษามีความมั่นใจและเตรียมตัวเองในด้านต่างๆ สำหรับการปฏิบัติงานในอนาคต
11.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
12.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับนโยบาย
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา
13.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับปฏิบัติการ
นายสมโชค เพ็งลี และนางสาวประทุมพร คำภาสุข
14.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม 22/8/2556
    ว/ด/ป สิ้นสุด 22/8/2556
15.
สถานที่ดำเนินการ
ห้องประชุม กวี ตุติกุล
16.
วิธีการดำเนินการและขั้นตอนกิจกรรม
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
เดือน/ปี ที่เริ่ม-สิ้นสุด
1)
1. ประสานงานวิทยากร
2)
2. ประสานงานประชาสัมพันธ์นักศึกษา
3)
3. จัดกิจกรรมตามกำหนดการ
4)
4. สรุปผลการดำเนินกิจกรรม
5)
5. ส่งรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
17.
งบประมาณ
   
ลำดับที่
รายการ
งบประมาณ (บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1.2 ค่าใช้สอย
1.3 ค่าวัสดุ
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
  รวมทั้งสิ้น 0,000
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
18.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) 1. นักศึกษาเข้าใจถึงสายงานของตนเองในอนาคตมากขึ้น
2) 2. นักศึกษาทราบถึงแนวทางในการเตรียมตัวในสายงานเมื่อเข้าสู่ AEC และมีความมั่นใจมากขึ้น
3) 3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสัมพันธ์อันดีระหว่างกันทั้งนักศึกษาปัจจุบันและศิษย์เก่า
19.
การติดตามประเมินผล
20.
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับโครงการ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
19.
การป้องกันความเสี่ยง
การประชาสัมพันธ์และเชิญชวนให้เห็นความสำคัญของโครงการ
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้ควบคุมโครงการ

นายสมโชค เพ็งลี
นักวิชาการศึกษา
........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้อนุมัติโครงการ

ผศ.ดร.ยุพิน ผาสุข
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา
........../........../..........