1.
ชื่อโครงการ: 
โครงการ Step up to Global Education by CLIL เพื่อขยายผลการจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ (content and language integrated learning, CLIL)
2.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี คณะเกษตรศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์: 10. การมุ่งสู่ความเป็นสถาบันชั้นนำทางการเกษตรในกลุ่มประเทศอาเซียน
    เป้าประสงค์: คณะเกษตรศาสตร์มุ่งสร้างความร่วมมือและเป็นศูนย์กลางการศึกษา การวิจัย และการบริการวิชาการในภูมิภาคอาเซียน
 
กลยุทธ์:  10.1 การสร้างความร่วมมือกับกลุ่มประเทศ
 
มาตรการ:  10.1.1 การพัฒนาการผลิตบัณฑิตและบุคลากรสู่ความเป็นนานาชาติ
 
ตัวชี้วัด: 
3.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประเด็นยุทธศาสตร์:  10. การบริหารจัดการทรัพยากร ทรัพย์สิน และทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยให้เกิดประโยชน์สูงสุดและพึ่งตนเองได้
 
กลยุทธ์:  10. การบริหารจัดการทรัพยากร ทรัพย์สิน และทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยให้เกิดประโยชน์สูงสุดและพึ่งตนเองได้
 
มาตรการ:  10. การบริหารจัดการทรัพยากร ทรัพย์สิน และทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยให้เกิดประโยชน์สูงสุดและพึ่งตนเองได้
 
ตัวชี้วัด: 
4.
ความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น
ชื่อโครงการที่เกี่ยวข้อง:
    ลักษณะโครงการ: (   ) โครงการให้ผลผลิต/ผลลัพธ์แก่โครงการอื่น
(   ) โครงการที่ต้องดำเนินร่วมกัน
(   ) โครงการที่นำผลผลิต/ผลลัพธ์จากโครงการมาใช้
5.
ประเภทโครงการ
: (   ) งานประจำ
(   ) พัฒนางานประจำ
( / ) งานผลักดันยุทธศาสตร์
6.
ลักษณะโครงการ
: ( / ) โครงการใหม่
(   ) โครงการต่อเนื่อง
7.
หลักการและเหตุผล
ด้วยคณะเกษตรศาสตร์มีหลักสูตรนานาชาติหลายสาขา และการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่บุคลากรสายผู้สอนจะต้องจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ เพื่อการเรียนการสอนที่คุณภาพและเตรียมความพร้อมการมุ่งสู่ความเป็นสถาบันชั้นนำทางการเกษตรในกลุ่มประเทศอาเซียน ดังนั้น หน่วยวิเทศสัมพันธ์จึงได้ร่วมกับสาขาวิชาพืชไร่จัดโครงการ Step up to Global Education by CLIL เพื่อขยายผลการจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ (content and language integrated learning, CLIL) ขึ้น
8.
วัตถุประสงค์โครงการ
9.
กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตการดำเนินการ
บุคลากรสายผู้สอน คณะเกษตรศาสตร์
10.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต
1) 1. รายงานผลการดำเนินโครงการ Step up to Global Education by CLIL เพื่อขยายผลการจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ (content and language integrated learning, CLIL) ขึ้น

ผลลัพธ์
1) 1.ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ 2.คณะเกษตรศาสตร์มีหลักสูตรและการเรียนการสอนที่เป็นนานาชาติมากขึ้น
11.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
1) มีเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของกลุ่มเป้าหมาย
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจจากการเข้าร่วมโครงการ สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของกลุ่มเป้าหมาย
12.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับนโยบาย
รองคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพและวิเทศสัมพันธ์
13.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับปฏิบัติการ
หน่วยวิเทศสัมพันธ์ คณะเกษตรศาสตร์
14.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม 12/6/2557
    ว/ด/ป สิ้นสุด 12/6/2557
15.
สถานที่ดำเนินการ
ห้องประชุมสาขาวิชาพืชไร่ (5113) คณะเกษตรศาสตร์
16.
วิธีการดำเนินการและขั้นตอนกิจกรรม
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
เดือน/ปี ที่เริ่ม-สิ้นสุด
1)
เขียนข้อเสนอโครงการมิถุนายน 57 - มิถุนายน 57
2)
ขออนุมัติโครงการมิถุนายน 57 - มิถุนายน 57
3)
ประชาสัมพันธ์โครงการให้กับกลุ่มเป้าหมายมิถุนายน 57 - มิถุนายน 57
4)
ดำเนินการจัดโครงการมิถุนายน 57 - มิถุนายน 57
5)
เบิกจ่ายงบประมาณมิถุนายน 57 - มิถุนายน 57
6)
ประเมินผลการดำเนินโครงการมิถุนายน 57 - มิถุนายน 57
7)
จัดทำรายงานผลการดำเนินโครงการมิถุนายน 57 - มิถุนายน 57
17.
งบประมาณ
เงินรายได้คณะเกษตรศาสตร์ แผนงบประมาณเร่งรัดปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต โครงการ Step up to Global Education by CLIL เพื่อขยายผลการจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ (content and language integrated learning, CLIL) ภายใต้โครงการใหญ่ ”Get ready to be global citizen” การเตรียมความพร้อมบุคลากรสู่ความเป็นนานาชาติ รหัสบัญชี 121261 หมวดรายจ่าย เงินอุดหนุนทั่วไป-ค่าใช้สอย
   
ลำดับที่
รายการ
งบประมาณ (บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1.2 ค่าใช้สอย
1)
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม5,000
2)
ค่าอาหารกลางวัน5,000
1.3 ค่าวัสดุ
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
  รวมทั้งสิ้น 10,000
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
18.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) 1.บุคลากรสายผู้สอนได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ
2) 2.บุคลากรสายผู้สอนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษของตน
19.
การติดตามประเมินผล
แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการโครงการ โดยมีประเด็นการประเมิน 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านเนื้อหาและข้อมูล 2) ด้านวิทยากร 3) ด้านความรู้ความเข้าใจในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ 4) ระยะเวลา
20.
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับโครงการ
บุคลากรเข้าร่วมโครงการไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
19.
การป้องกันความเสี่ยง
ประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรมีความสนใจที่จะเข้าร่วมโครงการ
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้ควบคุมโครงการ

นางสาวศรัณยา พบความสุข
นักวิเทศสัมพันธ์
........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้อนุมัติโครงการ

ผศ.ดร. ดรุณี โชติษฐยางกูร
รองคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพและวิเทศสัมพันธ์
........../........../..........