1.
ชื่อโครงการ: 
การรักษาความปลอดภัย
2.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี คณะเกษตรศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์: 1. ระบบบริหารจัดการที่ดี
    เป้าประสงค์: คณะเกษตรศาสตร์มีระบบบริหารจัดการที่ดี ที่สร้างคุณภาพชีวิต และความผาสุกในการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์กร (healthy organization) ควบคู่กับการสร้างธรรมาภิบาลและมาตรฐานการทำงานที่มีผลสัมฤทธิ์สูง (high performance organization)
 
กลยุทธ์:  1.1 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
 
มาตรการ:  1.1.2 การสร้างความสุขในทมี่ทำงานและส่งเสริมคุณภาพชีวิต
 
ตัวชี้วัด: 
3.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประเด็นยุทธศาสตร์:  1. ระบบบริหารจัดการที่ดี
 
กลยุทธ์:  1. ระบบบริหารจัดการที่ดี
 
มาตรการ:  1. ระบบบริหารจัดการที่ดี
 
ตัวชี้วัด: 
4.
ความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น
ชื่อโครงการที่เกี่ยวข้อง:
    ลักษณะโครงการ: (   ) โครงการให้ผลผลิต/ผลลัพธ์แก่โครงการอื่น
(   ) โครงการที่ต้องดำเนินร่วมกัน
(   ) โครงการที่นำผลผลิต/ผลลัพธ์จากโครงการมาใช้
5.
ประเภทโครงการ
: (   ) งานประจำ
(   ) พัฒนางานประจำ
(   ) งานผลักดันยุทธศาสตร์
6.
ลักษณะโครงการ
: (   ) โครงการใหม่
(   ) โครงการต่อเนื่อง
7.
หลักการและเหตุผล
ด้วยในปัจจุบันแนวโน้มความเสี่ยงต่อสถานการณ์ที่จะเกิดภัยพิบัติต่างๆ มีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเมื่อเกิดขึ้นแล้วได้สร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของทางราชการและประชาชนเป็นจำนวนมากประกอบกับคณะเกษตรศาสตร์เป็นหน่วยงานที่ประกอบ ด้วยอาคารสูง มีฟาร์มทดลองและห้องปฏิบัติการเป็นจำนวนมาก ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมการป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น คณะฯ จึงได้เล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสริมให้หน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้องต่อ ความเสี่ยงในการเกิดภัยพิบัติต่างๆ เช่นอัคคีภัย วาตภัย ได้มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันและระงับเหตุในเบื้องต้นได้อย่างทันท่วงที มีประสิทธิภาพ และถูกต้องตามหลักวิชาการ อันจะนำไปสู่การลดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้
8.
วัตถุประสงค์โครงการ
9.
กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตการดำเนินการ
บุคลากรผู้ปฏิบัติงานสายฟาร์มและห้องปฏิบัติการ จำนวน 60 คน
10.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต
1) ผลผลิต : รายงานผลการดำเนินงาน

ผลลัพธ์
1) ผลลัพธ์ : ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงความปลอดภัยที่คณะจัดป้องกันไว้
11.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
1) การติดตามประเมินผล : แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการโครงการ โดยมีประเด็นการประเมิน 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านเนื้อหา 2) ด้านวิทยากร 3) ด้านการฝึกปฏิบัติ 4) ด้านการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ : 1.มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของกลุ่มเป้าหมาย เกณฑ์การให้คะแนน : ใช้บัญญัติไตรยางค์เทียบ โดยกำหนดร้อยละ 75 เท่ากับ 5 คะแนน
2) 2.จำนวนการเกิดอัคคีภัยในรอบหนึ่งปีลดน้อยลง
12.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับนโยบาย
รองคณบดีฝ่ายบริหารและวางแผน
13.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับปฏิบัติการ
งานบริหารและธุรการ สำนักงานคณบดี คณะเกษตรศาสตร์
14.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม 1/10/2556
    ว/ด/ป สิ้นสุด 30/9/2556
15.
สถานที่ดำเนินการ
คณะเกษตรศาสตร์
16.
วิธีการดำเนินการและขั้นตอนกิจกรรม
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
เดือน/ปี ที่เริ่ม-สิ้นสุด
1)
1. ฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัยเบื้องต้น
2)
2. ฝึกปฏิบัติการระงับอัคคีภัยและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
3)
3. การดูแลและบำรุงรักษาลิฟท์
4)
4. การดูแลและบำรุงรักษาเครื่องดับเพลิง
5)
5. การจัดทำผังอาคารแสดงเส้นทางหนีไฟ
6)
6. ฉีดพ่นหมอกควันสารเคมีกำจัดยุงลายบริเวณหมวดงานไร่สายฟาร์มและ รอบๆ บริเวณอาคารสำนักงานและอาคารเรียนคณะเกษตรศาสตร์
17.
งบประมาณ
ใช้เงินรายได้จัดการศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
   
ลำดับที่
รายการ
งบประมาณ (บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1)
ค่าตอบแทนวิทยากร7,200
2)
ค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม12,600
1.2 ค่าใช้สอย
1)
ค่าจ้างเหมาดูแลและบำรุงรักษาลิฟท์ 44,230
2)
ค่าใช้จ่ายฉีดพ่นหมอกควันสารเคมีกำจัดยุงลายบริเวณหมวดงานไร่10,970
3)
ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร การระงับและป้องกันอัคคีภัย44,800
4)
ค่าเติมน้ำยาดับเพลิง25,000
1.3 ค่าวัสดุ
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
  รวมทั้งสิ้น 100,000
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
18.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) 1. บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันและระงับอัคคีภัย
2) 2. บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจในการใช้และบำรุงรักษาเครื่องดับเพลิงอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ
3) 3. บุคลากรมีความรู้ในการช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้นก่อนนำส่ง โรงพยาบาลในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉินจากอัคคีภัย
4) 4. มีการเตรียมความพร้อมถังดับเพลิงตามบริเวณต่างๆ เพื่อรองรับ สถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้น
5) 5. บุคลากรมีความปลอดภัยจากการใช้ลิฟท์
19.
การติดตามประเมินผล
20.
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับโครงการ
บุคลากรเข้าร่วมโครงการไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
19.
การป้องกันความเสี่ยง
ขอความร่วมมือไปยังหัวหน้าหน่วยงานเพื่อเสนอชื่อบุคลากรเข้าร่วมโครงการ
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้ควบคุมโครงการ

นางวรรณี ทรัพย์ศรี
รักษาการหัวหน้างานบริหารและธุรการ
........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้อนุมัติโครงการ

รศ.ประภัสสร เตชะประเสริฐวิทยา
รองคณบดีฝ่ายบริหารและวางแผน
........../........../..........