1.
ชื่อโครงการ: 
ค่ายอาสาพัฒนาและเผยแพร่วิชาการเกษตร ปีการศึกษา 2557
2.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี คณะเกษตรศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์: 3. การพัฒนานักศึกษา
    เป้าประสงค์: คณะเกษตรศาสตร์มุ่งเน้นการสร้างสรรค์และพัฒนานักศึกษาให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าต่อสังคม มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความรู้และประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีและร็เท่ากันการเปลี่ยนแปลงของสังคม และสามารถดำรงชีพอยู้ในสังคมโลกได้อย่างมีคุณภาพและคุณธรรม
 
กลยุทธ์:  3.1 การสนับสนุนระบบการให้คำปรึกษา การทำกิจกรรมเสริมหลักสูตร ส่งเสริมด้านจริยธรรมและคุณธรรม
 
มาตรการ:  3.1.3 สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาด้านการสร้างจิตสำนึก จิตสาธารณะ ศิลปวัฒนธรรม และการพัฒนาตนเอง
 
ตัวชี้วัด: 
3.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประเด็นยุทธศาสตร์:  3. การพัฒนานักศึกษา
 
กลยุทธ์:  3. การพัฒนานักศึกษา
 
มาตรการ:  3. การพัฒนานักศึกษา
 
ตัวชี้วัด: 
4.
ความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น
ชื่อโครงการที่เกี่ยวข้อง:
    ลักษณะโครงการ: (   ) โครงการให้ผลผลิต/ผลลัพธ์แก่โครงการอื่น
(   ) โครงการที่ต้องดำเนินร่วมกัน
( / ) โครงการที่นำผลผลิต/ผลลัพธ์จากโครงการมาใช้
5.
ประเภทโครงการ
: ( / ) งานประจำ
(   ) พัฒนางานประจำ
(   ) งานผลักดันยุทธศาสตร์
6.
ลักษณะโครงการ
:
7.
หลักการและเหตุผล
ด้วยชุมนุมอาสาเกษตร ร่วมกับสโมสรนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้จัดโครงการการออกค่ายอาสาพัฒนาและเผยแพร่วิชาการเกษตร ปีการศึกษา 2557 ในวันที่ 4-9 มกราคม 2558 ณ โรงเรียนบ้านหนองสวง บ้านหนองสวง อำเภหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านการเกษตรสู่ชุมชนที่มีความต้องการองค์ความรู้ด้านการเกษตร ส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษา ที่เข้าร่วมโครงการ ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ในระหว่างการปิดภาคเรียน ดังนั้นฝ่ายกิจการนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ได้เล้งเห็นว่าเป็นโครงการที่ดี
8.
วัตถุประสงค์โครงการ
1) เพื่อให้นักศึกษาจัดกิจกรรมนักศึกษา ให้สอดคล้องกับการพัฒนาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์
2) เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการกิจกรรมนักศึกษา
3) เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์อันดีและสร้างความสามัคคีระหว่างนิสิต นักศึกษาคณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ฝ่ายกิจการนักศึกษาของสถาบันต่างๆ ที่เข้าร่วมงาน
4) เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ ความสามารถทางด้านวิชาการเกษตรและการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นของแต่ละสถาบัน
5) เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เข้าร่วมกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ร่วมกับนิสิต นักศึกษา และคณาจารย์ ของสถาบันต่างๆ ที่เข้าร่วมงาน
9.
กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตการดำเนินการ
นักศึกษา บุคลากรคณะเกษตรศาสตร์ และประชาชนทั่วไปในชุมชน
10.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต
1) รายการผลการดำเนินโครงการค่ายอาสาเกษตรและเผยแพร่วิชาการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ปีการศึกษา 2557

ผลลัพธ์
1) นักศึกษาพัฒนาทักษะด้านวิชาการด้านการเกษตร โดยได้เรียนรู้ประสบการณ์จากการปฏิบัติจริง
11.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
1) ร้อยละเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมโครงการทุกโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 75ของกลุ่มเป้าหมาย
2) ร้อยละเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
12.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับนโยบาย
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา
13.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับปฏิบัติการ
หน่วยกิจการนักศึกษา งานบริการการศึกษา
14.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม 10/1/2557
    ว/ด/ป สิ้นสุด 16/1/2557
15.
สถานที่ดำเนินการ
บ้านขุนด่าน ตำบลบ้านดง อำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น
16.
วิธีการดำเนินการและขั้นตอนกิจกรรม
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
เดือน/ปี ที่เริ่ม-สิ้นสุด
1)
ฝึกอบรม, เผยแพร่, กิจกรรมนันทนาการ
17.
งบประมาณ
ใช้เงินรายได้มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558
   
ลำดับที่
รายการ
งบประมาณ (บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1.2 ค่าใช้สอย
1)
ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์และเจ้าหน้าที่5,000
2)
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง10,000
3)
ค่าตอบแทนวิทยากร5,000
1.3 ค่าวัสดุ
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
  รวมทั้งสิ้น 20,000
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
18.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) นักศึกษา คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ฝ่ายกิจการนักศึกษาของคณะฯ มีความสัมพันธ์อันดีกับสถาบันที่เข้าร่วมงานในครั้งนี้ สามารถสร้างความร่วมมือและประสานงานกันในด้านต่างๆ ได้ต่อไป
2) นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในสาขาวิชาที่เรียนมาขึ้น และสามารถนำประสบการณ์จากการเข้าร่วมงานในครั้งนี้ ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาได้
3) นักศึกษามีจิตสำนึกในการบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม
4) นักศึกษาได้เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของภาคต่างๆ รวมทั้งช่วยกันอนุรักษ์ให้ มีสืบต่อไป
5) ประชากรและเยาวชนในหมู่บ้านมีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพเกษตรกรรม มีความภาคภูมิใจ ในอาชีพการเกษตร
19.
การติดตามประเมินผล
แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินโครงการ
20.
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับโครงการ
1.ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมอาจมีการเปลี่ยนแปลง 2.จำนวนผู้เขาร่วมโครงการไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
19.
การป้องกันความเสี่ยง
1.การวางแผนเพื่อนศึกษาแนวทางในการจัดโครงการ 2.การประชาสัมพันธ์และเชิญชวนเห็นความสำคัญของโครงการ
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้ควบคุมโครงการ

ผศ.ดร.ยุพิน ผาสุข
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา
........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้อนุมัติโครงการ

รศ.ดร.มนต์ชัย ดวงจินดา
คณบดีคณะเกษตรศาสตร์
........../........../..........