1.
ชื่อโครงการ: 
การพัฒนาหน่วยงานให้การบริการชมชนด้านมาตรฐานสินค้าเกษตร
2.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม >
    ว/ด/ป สิ้นสุด
3.
วัตถุประสงค์โครงการ
1) เพื่อให้บริการรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร ตลอดจนตรวจติดตามผลและการตรวจประเมินอายุ
2) เพื่อประสานงานความร่วมมือระหว่างภาคการเกษตรและภาครัฐ ในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคทั้งเชิงเทคนิคและเชิงวิชาการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร
3) เพื่อเข้าร่วมในการพัฒนา ปรับปรุงเกี่ยวกับขั้นตอน วิธีการรับรอง และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
4) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการเพิ่มผลผลิตสินค้าเกษตรให้มีคุณภาพและได้ตามเกณฑ์มาตรฐานสากล
5) เพื่อเป็นกลไกการเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันตลาด โดยเฉพาะการมุ่งเน้นความปลอดภัยของสินค้าเกษตรให้ได้รับความเชื่อถือและยอมรับของผู้บริโภคสินค้าเกษตร
4.
สถานที่ดำเนินการ
ศูนย์ศึกษาค้นคว้าฯ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และพื้นที่แปลงเกษตรกร และหน่วยงานภาครัฐ
5.
วิธีการและขั้นตอนการดำเนินโครงการ
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
1)
จัดเตรียมประชุมคณะกรรมการบริหารของสำนักงานรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร
2)
จัดเตรียมเอกสารเพื่อยื่นขอการรับรองจากสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
3)
เตรียมความพร้อมของบุคลากรของสำนักงานฯ โดยการเข้าร่วมการประชุม/การฝึกอบรม/การสัมมนามาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตรวจรับรอง
4)
จัดประชุมบุคลากรเพื่อเตรียมความพร้อมในการยื่นขอการรับรอง
5)
การออกตรวจรับรองแปลงที่แหล่งผลิต
6)
การรับ การตรวจประเมินเอกสารของสำนักงานฯ จากสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
7)
รายงานผลการดำเนินการของโครงการ
6.
งบประมาณรายจ่ายจริง
   
ลำดับที่
รายการ
(บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1)
ค่าตอบแทน 0,000
1.2 ค่าใช้สอย
1)
ไปราชการ 0,000
2)
ค่าอาหาร/ค่าอาหารว่างฯ 0,000
3)
ค่าจ้างเหมาบริการ 0,000
1.3 ค่าวัสดุ
1)
ค่าวัสดุ 0,000
2)
ค่าสาธารณูปโภค 0,000
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
  รวมทั้งสิ้น 0,000
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
7.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) สำนักงานรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ได้รับการรับรองจากสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
2) สำนักงานรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร สามารถให้การรับรองระบบการผลิตพืชอาหารปลอดภัยตามหลักปฏิบัติที่ดีทางการเกษตร (GAP) แก่ผู้ผลิตได้
3) เกษตรกรผู้ผลิตได้รับการรับรองระบบการผลิต พืช อาหารปลอดภัย
8.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต

ผลลัพธ์
9.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
.
สรุปภาพรวมความสำเร็จโครงการตามตัวชี้วัด
10.
การติดตามประเมินผล
สำนักงานฯ ได้รับการรับรองจากสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
11.
ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน
12.
ข้อเสนอแนะ
13.
ความเห็น/ข้อชี้แนะในการดำเนินงานครั้งต่อไป
14.
ผ่านที่ประชุม
.
เมื่อวันที่
>
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้รับผิดชอบโครงการ/ผู้ทำรายงาน



........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้ควบคุมโครงการ

นายจิรวัฒน์ สนิทชน
ผู้อำนวยสำนักงานรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร คณะเกษตรศาสตร์
........../........../..........