1.
ชื่อโครงการ: 
งานประเพณี 4 จอบ ครั้งที่ 31 “เกษตรลุกพระบิดา ถิ่นบินหลาแดนใต้”
2.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม >
    ว/ด/ป สิ้นสุด
3.
วัตถุประสงค์โครงการ
1) เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์อันดีและสร้างความสามัคคีระหว่างคณาจารย์ นิสิตและนักศึกษา ของสถาบันต่างๆ
2) เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ ความสามารถทางด้านวิชาการเกษตรและการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นของแต่ละสถาบัน
3) เพื่อเปิดโอกาสให้คณาจารย์ นิสิตและนักศึกษา ได้เข้าร่วมกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ร่วมกัน
4) เพื่อให้นักศึกษารู้จักเสียสละและบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม
5) เพื่อเป็นการเปิดโลกทัศน์ให้กับนิสิต และนักศึกษา ในการเรียนรู้นอกห้องเรียน
4.
สถานที่ดำเนินการ
คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จังหวัดสงขลา
5.
วิธีการและขั้นตอนการดำเนินโครงการ
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
1)
การแข่งขันกีฬาทักษะทางการเกษตร
2)
การแข่งขันกีฬาสากล
3)
กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์และพัฒนาชุมชนรอบมหาวิทยาลัยขอนแก่น
4)
กิจกรรมทัศนศึกษา
5)
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม
6)
กิจกรรมการสัมมนาร่วมระหว่างผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ด้านกิจกรรมนักศึกษาและผู้นำนักศึกษาภาคีสมาชิก ๑๒ สถาบัน
7)
การประกวดกองเชียร์และเชียร์ลีดเดอร์
6.
งบประมาณรายจ่ายจริง
   
ลำดับที่
รายการ
(บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1.2 ค่าใช้สอย
1)
ค่าเดินทางไปราชการ 42,000
2)
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง 94,386
3)
ค่าที่พัก 76,500
4)
ค่าสนับสนุนนักศึกษา 18,000
1.3 ค่าวัสดุ
1)
ค่าของที่ระลึก 2,000
2)
ค่าสนันสนุนเข้าร่วมโครงการระดับคณะ 30,000
3)
ค่าอัดฉีดนักศึกษา 13,900
4)
ค่าทางด่วน 0,745
5)
ค่าเสื้อสำหรับอาจารย์และเจ้าหน้าที่ 5,643
6)
0,000
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
  รวมทั้งสิ้น 283,174
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
7.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) สร้างความสัมพันธ์อันดีและสร้างความสามัคคีระหว่างคณาจารย์ นิสิต และนักศึกษา ของสถาบันต่างๆ
2) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ ความสามารถทางด้านวิชาการเกษตรและการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นของแต่ละสถาบัน
3) คณาจารย์ นิสิต และนักศึกษาได้บำเพ็ญประโยชน์ร่วมกัน
4) นิสิต และนักศึกษา รู้จักเสียสละและบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม
8.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต
1) รายการผลการดำเนินโครงการงานประเพณี 4 จอบแห่งชาติ ครั้งที่ 31

ผลลัพธ์
1) - นิสิต นักศึกษา บุคลากร สถาบันการศึกษาด้านการเกษตรทั้ง 12 สถาบัน ได้รู้จักกัน และแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ ความสามารถทางด้านวิชาการเกษตรและการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นของแต่ละสถาบัน
9.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
1) ร้อยละเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมโครงการทุกโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 75ของกลุ่มเป้าหมาย เกณฑ์การให้คะแนน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดร้อยละ 75 เท่ากับ 5 คะแนน
2) ร้อยละเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในการปฏิบัติงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 เกณฑ์การให้คะแนน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดร้อยละ 75 เท่ากับ 5 คะแนน
.
สรุปภาพรวมความสำเร็จโครงการตามตัวชี้วัด
10.
การติดตามประเมินผล
1.ร้อยละเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมโครงการทุกโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 75ของกลุ่มเป้าหมาย เกณฑ์การให้คะแนน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดร้อยละ 75 เท่ากับ 5 คะแนน 2.ร้อยละเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในการปฏิบัติงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 เกณฑ์การให้คะแนน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดร้อยละ 75 เท่ากับ 5 คะแนน
11.
ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน
12.
ข้อเสนอแนะ
13.
ความเห็น/ข้อชี้แนะในการดำเนินงานครั้งต่อไป
14.
ผ่านที่ประชุม
.
เมื่อวันที่
>
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้รับผิดชอบโครงการ/ผู้ทำรายงาน



........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้ควบคุมโครงการ

ผศ.ดร.ยุพิน ผาสุข
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา
........../........../..........