แผนปฏิบัติราชการ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปี 2558


FACULTY
 
 
Edit=Edit, Preview=View in HTML, Print= Save as MS-Word, Print= ภาพประกอบ,Print= ไฟล์ ประกอบ
 
หมายเหตุ : ควรป้อนข้อมูลในส่วนโครงการก่อน เนื่องจากจะถูกดึงมาประกอบในรายงานโดยไม่ต้องบันทึกซ้ำเมื่อทำรายงาน

ยุทธศาสตร์/กลยุทธ/มาตรการ/โครงการ
โครงการ
ผู้รับผิดชอบ ผลการดำเนินงาน
รายงาน
1. ระบบบริหารจัดการที่ดี
1. ระบบบริหารจัดการที่ดี
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
1.1 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
1.1.1 การพัฒนาระบบบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
1.2 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
1.2.1 การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
2. การผลิตบัณฑิตที่ดี
2.2 การพัฒนาด้านการเรียนการสอน
2.2.1 สร้างระบบและกลไกเพื่อจูงใจคนที่มีคุณภาพให้เข้ามาศึกษาสาขาเกษตรศาสตร์
EditPreviewPrint
รองคณบดีฝ่ายยุทธศาสตร์ชุมชนดำเนินการเสร็จสมบูรณ์
EditPreviewPrint
3. การพัฒนานักศึกษา
3.1 การสนับสนุนระบบการให้คำปรึกษา การทำกิจกรรมเสริมหลักสูตร ส่งเสริมด้านจริยธรรมและคุณธรรม
3.1.1 การพัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษา
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
3.1.2 การพัฒนาระบบพี่เลี้ยงนักศึกษา
EditPreviewPrint
ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ
EditPreviewPrint
5. การบริการวิชาการ
5.1 การบริหารจัดการหน่วยบริการวิชาการ
5.1.1 การบริหารจัดการด้านการบริการวิชาการ
EditPreviewPrint
คณบดีดำเนินการเสร็จสมบูรณ์
EditPreviewPrint

Project Summary
ชื่อโครงการ : โครงการละว้า
ผู้รับผิดชอบ : คณบดี
สถานภาพ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์
วันที่เริ่ม : 26/10/2015
วันที่สิ้นสุด : 30/09/2016
งบประมาณรวม : 0,000
หลักการเหตุผล : ปัจจุบัน การผลิตสินค้าเกษตรโดยเฉพาะการผลิตด้านปศุสัตว์และประมงมีต้นทุนสูงขึ้น ทั้งค่าจ้างแรงงาน ค่าพันธุ์สัตว์ ค่าขนส่ง รวมทั้งต้นทุนอาหารและวัตถุดิบที่นำมาใช้เป็นอาหารอาหารสัตว์ ทำให้ผู้เลี้ยงขนาดเล็กที่พึ่งการซื้ออาหารสำเร็จรูปมาใช้เลี้ยงในฟาร์มขนาดเล็ก ประสบภาวะขาดทุน ชุมชนเกษตรกร มีการทำเกษตรกรรมหลากหลาย ทั้งการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ และประมง ทำให้มีเศษเหลือจากการปลูกพืชที่พอจะนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว์ได้ เช่นมันสำปะหลัง เป็นต้น การใช้เศษเหลือเหล่านี้มาพัฒนาเป็นอาหารเลี้ยงปลา จะทำให้สามารถประหยัดต้นทุนการผลิต เป็นการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สูงสุด ลดการพึ่งพาปัจจัยการผลิตจากภายนอก จึงเป็นการเกษตรแบบพึ่งพาตนเอง ซึ่งจะนำมาซึ่งเสถียรภาพที่ยั่งยืน คณะเกษตรศาสตร์ ได้ให้การสนับสนุนการวิจัยในเชิงพัฒนา แก่เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ บ้านหนองนางขวัญ ในปี 2558 มาเป็นปีที่ 2 โดยได้ส่งเสริมการทำอาหารเลี้ยงปลาเอง จากวัตถุดิบที่พอหาได้ ในท้องถิ่น และมีการเพิ่มเติมจากปีงบประมาณ 2557 คือการอบรมเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยง ให้สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์ ปลาส้มและข้าวเกรียบปลา ที่มีรสชาติดี ได้มาตรฐาน จึงควรมีการขยายผลการพัฒนานี้อีก ในปีงบประมาณ 2559 โดยการร่วมมือกับเกษตรกรในการวางแผนการเพาะเลี้ยงปลา เพื่อผลิตปลานิล ปลาตะเพียน สำหรับทำผลิตภัณฑ์ พร้อมกับการพัฒนารูปแบบภาชนะบรรจุสินค้า เพื่อส่งเข้าจำหน่ายยังร้านค้า Agro outlet ของคณะเกษตรศาสตร์ จึงเป็นการสนับสนุนกิจกรรมความร่วมมือ ในโครงการละว้า ของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น นอกจากนี้นักวิจัยผู้ดำเนินการ ได้นำผลงานวิจัยมาประยุกต์ใช้ในงานส่งเสริมนี้ รวมทั้งได้นำนักศึกษาภาคประมง รายวิชาฝึกงาน มาฝึกปฏิบัติ เรียนรู้และวิจัยไปพร้อมกับเกษตรกรเจ้าของฟาร์ม โครงการนี้จึงนับได้ว่าได้ประโยชน์หลายประการ ทั้งได้นักผลงานวิจัยออกมาสู่ชุมชน และได้มีการบูรณาการกับการเรียนการสอนของนักศึกษา และเป็นการพัฒนาตลอดห่วงโซ่อุปทาน คือตั้งแต่ต้นน้ำ จนกระทั่งปลายน้ำ อย่างแท้จริง