1.
ชื่อโครงการ: 
โครงการละว้า
2.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี คณะเกษตรศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์: 5. การบริการวิชาการ
    เป้าประสงค์: คณะเกษตรศาสตร์มุ่งการบริการวิชาการทางการเกษตรที่สนับสนุนการพัฒนาและเป็นประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม
 
กลยุทธ์:  5.1 การบริหารจัดการหน่วยบริการวิชาการ
 
มาตรการ:  5.1.1 การบริหารจัดการด้านการบริการวิชาการ
 
ตัวชี้วัด:  5.1 (1) มีระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม และดำเนินการตามระบบที่กำหนด
3.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประเด็นยุทธศาสตร์:  5. การบริการวิชาการ
 
กลยุทธ์:  5. การบริการวิชาการ
 
มาตรการ:  5. การบริการวิชาการ
 
ตัวชี้วัด:  5.1 (1) มีระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม และดำเนินการตามระบบที่กำหนด
4.
ความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น
ชื่อโครงการที่เกี่ยวข้อง:
    ลักษณะโครงการ: (   ) โครงการให้ผลผลิต/ผลลัพธ์แก่โครงการอื่น
(   ) โครงการที่ต้องดำเนินร่วมกัน
(   ) โครงการที่นำผลผลิต/ผลลัพธ์จากโครงการมาใช้
5.
ประเภทโครงการ
: (   ) งานประจำ
(   ) พัฒนางานประจำ
( / ) งานผลักดันยุทธศาสตร์
6.
ลักษณะโครงการ
: ( / ) โครงการใหม่
(   ) โครงการต่อเนื่อง
7.
หลักการและเหตุผล
ปัจจุบัน การผลิตสินค้าเกษตรโดยเฉพาะการผลิตด้านปศุสัตว์และประมงมีต้นทุนสูงขึ้น ทั้งค่าจ้างแรงงาน ค่าพันธุ์สัตว์ ค่าขนส่ง รวมทั้งต้นทุนอาหารและวัตถุดิบที่นำมาใช้เป็นอาหารอาหารสัตว์ ทำให้ผู้เลี้ยงขนาดเล็กที่พึ่งการซื้ออาหารสำเร็จรูปมาใช้เลี้ยงในฟาร์มขนาดเล็ก ประสบภาวะขาดทุน ชุมชนเกษตรกร มีการทำเกษตรกรรมหลากหลาย ทั้งการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ และประมง ทำให้มีเศษเหลือจากการปลูกพืชที่พอจะนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว์ได้ เช่นมันสำปะหลัง เป็นต้น การใช้เศษเหลือเหล่านี้มาพัฒนาเป็นอาหารเลี้ยงปลา จะทำให้สามารถประหยัดต้นทุนการผลิต เป็นการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สูงสุด ลดการพึ่งพาปัจจัยการผลิตจากภายนอก จึงเป็นการเกษตรแบบพึ่งพาตนเอง ซึ่งจะนำมาซึ่งเสถียรภาพที่ยั่งยืน คณะเกษตรศาสตร์ ได้ให้การสนับสนุนการวิจัยในเชิงพัฒนา แก่เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ บ้านหนองนางขวัญ ในปี 2558 มาเป็นปีที่ 2 โดยได้ส่งเสริมการทำอาหารเลี้ยงปลาเอง จากวัตถุดิบที่พอหาได้ ในท้องถิ่น และมีการเพิ่มเติมจากปีงบประมาณ 2557 คือการอบรมเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยง ให้สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์ ปลาส้มและข้าวเกรียบปลา ที่มีรสชาติดี ได้มาตรฐาน จึงควรมีการขยายผลการพัฒนานี้อีก ในปีงบประมาณ 2559 โดยการร่วมมือกับเกษตรกรในการวางแผนการเพาะเลี้ยงปลา เพื่อผลิตปลานิล ปลาตะเพียน สำหรับทำผลิตภัณฑ์ พร้อมกับการพัฒนารูปแบบภาชนะบรรจุสินค้า เพื่อส่งเข้าจำหน่ายยังร้านค้า Agro outlet ของคณะเกษตรศาสตร์ จึงเป็นการสนับสนุนกิจกรรมความร่วมมือ ในโครงการละว้า ของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น นอกจากนี้นักวิจัยผู้ดำเนินการ ได้นำผลงานวิจัยมาประยุกต์ใช้ในงานส่งเสริมนี้ รวมทั้งได้นำนักศึกษาภาคประมง รายวิชาฝึกงาน มาฝึกปฏิบัติ เรียนรู้และวิจัยไปพร้อมกับเกษตรกรเจ้าของฟาร์ม โครงการนี้จึงนับได้ว่าได้ประโยชน์หลายประการ ทั้งได้นักผลงานวิจัยออกมาสู่ชุมชน และได้มีการบูรณาการกับการเรียนการสอนของนักศึกษา และเป็นการพัฒนาตลอดห่วงโซ่อุปทาน คือตั้งแต่ต้นน้ำ จนกระทั่งปลายน้ำ อย่างแท้จริง
8.
วัตถุประสงค์โครงการ
1) จัดฝึกอบรมเกษตรกรในการแปรรูปอาหารปลา และการบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ ปลาส้ม จากปลานิลและปลาตะเพียน
2) ขยายผลการพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาส้ม จากปลานิลและปลาตะเพียน ของกลุ่มเกษตรกรบ้านหนองนางขวัญ อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น
3) เพื่อนำผลิตภัณฑ์ปลาส้ม และปลาสดของกลุ่มเกษตรกรบ้านหนองนางขวัญ จังหวัดขอนแก่นเข้าจำหน่ายที่ร้านค้า Agro outlet อุทยานเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น
9.
กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตการดำเนินการ
เกษตรกรผู้เลี้ยงปลา บ้านหนองนางขวัญ อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่นและนักศึกษา ภาควิชาประมง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
บ้านหนองนางขวัญ อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น
10.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต
1) ผลิตภัณฑ์ปลาส้ม และปลาสด จากปลาในพื้นที่แก่งละว้า จ.ขอนแก่น
2) ผลิตภัณฑ์ปลาส้ม และปลาสด จากปลาในพื้นที่สำหรับจำหน่ายยังร้านค้า Agro outlet

ผลลัพธ์
1) การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ปลาส้ม
2) ความร่วมมือแบบไตรภาคีระหว่างคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เกษตรกรบ้านหนองนางขวัญ อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น และนักศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
11.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
1) ผลการประเมินความพึงพอใจของเกษตรกรผู้เข้ารับการอบรม
2) ผลการประเมินของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม
3) รายได้จากการจำหน่ายผลผลิตและผลิตภัณฑ์
12.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับนโยบาย
คณบดี
13.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับปฏิบัติการ
จิรวัฒน์ สนิทชน
14.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม 26/10/2558
    ว/ด/ป สิ้นสุด 30/9/2559
15.
สถานที่ดำเนินการ
บ้านหนองนางขวัญ อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น
16.
วิธีการดำเนินการและขั้นตอนกิจกรรม
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
เดือน/ปี ที่เริ่ม-สิ้นสุด
1)
1.หารือและกำหนดแผนการปฏิบัติงาน
2)
ดำเนินงานตามแผน
3)
ประเมินผล จัดทำรายงาน
17.
งบประมาณ
   
ลำดับที่
รายการ
งบประมาณ (บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1.2 ค่าใช้สอย
1.3 ค่าวัสดุ
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
  รวมทั้งสิ้น 0,000
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
18.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
19.
การติดตามประเมินผล
20.
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับโครงการ
19.
การป้องกันความเสี่ยง
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้ควบคุมโครงการ

พจมาลย์ ลาภลือชา
นักวิชาการเกษตร ชำนาญการ
........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้อนุมัติโครงการ

จิรวัฒน์ สนิทชน
รองคณบดีฝ่ายยุทธศาสตร์ชุมชน
........../........../..........