1.
ชื่อโครงการ: 
การสัมมนาและทัศนศึกษานอกสถานที่ (การบริหารจัดการหมวดพืชไร่)
2.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี คณะเกษตรศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์: 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว
    เป้าประสงค์: เป้าประสงค์ คณะเกษตรศาสตร์มีบรรยากาศที่ร่มรื่น เป็นธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดีที่เกื้อหนุนให้เกิดการเรียนรู้ การพัฒนานองค์ความรู้
 
กลยุทธ์:  3.1 กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กรที่เป็นเลิศ
 
มาตรการ:  3.1.4 มาตรการที่ 4 การสร้างความสุขในที่ทำงานและส่งเสริมคุณภาพชีวิต
 
ตัวชี้วัด: 
3.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประเด็นยุทธศาสตร์: 
 
กลยุทธ์: 
 
มาตรการ: 
 
ตัวชี้วัด: 
4.
ความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น
ชื่อโครงการที่เกี่ยวข้อง:
    ลักษณะโครงการ: (   ) โครงการให้ผลผลิต/ผลลัพธ์แก่โครงการอื่น
(   ) โครงการที่ต้องดำเนินร่วมกัน
(   ) โครงการที่นำผลผลิต/ผลลัพธ์จากโครงการมาใช้
5.
ประเภทโครงการ
: (   ) งานประจำ
(   ) พัฒนางานประจำ
(   ) งานผลักดันยุทธศาสตร์
6.
ลักษณะโครงการ
:
7.
หลักการและเหตุผล
สาขาพืชไร่ ภาควิชาพืชศาสตร์ฯ มีภารงานสนับสนุนด้านการเรียนการสอน การวิจัย ตั้งแต่ระดับปริญญาตรีถึงระดับปริญญาเอก และการให้บริการวิชาการแก่สังคม เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของหมวดพืชไร่ และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ ตลอดจนสร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงานร่วมกัน และศึกษาดูงาน เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะการทำงานให้มีความชำนาญมากขึ้น อีกทั้งเพื่อเป็นการประชุมสัมมนาเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาหมวดพืชไร่ให้มีความพร้อมต่องานบริการการศึกษา การวิจัย และการบริการวิชาการแก่สังคม สาขาพืชไร่จึงได้เสนอโครงการสัมมนาและทัศนศึกษานอกสถานที่(หารบริหารจัดการหมวดพืชไร่)ขึ้น
8.
วัตถุประสงค์โครงการ
1) เพื่อสรุปผลและหาแนวทางการดำเนินงานของหมวดพืชไร่ ในปี 2559 – 2560
2) ศึกษาดูงาน เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะการทำงานให้มีความชำนาญมากขึ้น
3) เพื่อสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ ตลอดจนสร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงาน
9.
กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตการดำเนินการ
บุคลากรหมวดพืชไร่ 30 คน อาจารย์และเจ้าหน้าที่สาขาขาพืชไร่ 15 คน พื้นที่/สถานที่ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่ดำเนินการด้านการเกษตร ณ เพชรบุรี และ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
10.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต
1) บุคลากรหมวดพืชไร่ จำนวน 30

ผลลัพธ์
1) ได้ข้อมูลต่างๆเพื่อใช้ในการกำหนดทิศทางการบริหารจัดการ หมวดพืชไร่
2) บุคลากรมีความรู้และทักษะการทำงานและมีความชำนาญมากขึ้น
3) สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างอาจารย์และบุคลากรทุกระดับ
11.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย เกณฑ์การให้คะแนน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบเท่า กำหนดร้อยละ 75 เท่ากับ 5 คะแนน
12.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับนโยบาย
ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรการเกษตร สาขาพืชไร่
13.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับปฏิบัติการ
ผปส.พืชไร่./นายวัชชิระ
14.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม >
    ว/ด/ป สิ้นสุด
15.
สถานที่ดำเนินการ
โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดำริ อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี และ พิพิธภัณฑ์กองบิน 5 อำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
16.
วิธีการดำเนินการและขั้นตอนกิจกรรม
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
เดือน/ปี ที่เริ่ม-สิ้นสุด
2)
เขียนข้อ/ขออนุมัติเสนอโครงการกุมภาพันธ์ 60 - กุมภาพันธ์ 60
3)
ส่งหนังสือขอความอนุเคราะห์ทัศนศึกษาดูงานกุมภาพันธ์ 60 - กุมภาพันธ์ 60
4)
ส่งหนังสือเชิญอาจารย์และบุคลากร ที่เข้าร่วมโครงการกุมภาพันธ์ 60 - กุมภาพันธ์ 60
5)
ดำเนินการทัศนศึกษาและดูงานมีนาคม 60 - มีนาคม 60
6)
เบิกจ่ายงบประมาณมีนาคม 60 - มีนาคม 60
7)
ประเมิน/รายงานผลการดำเนินโครงการมีนาคม 60 - เมษายน 60
17.
งบประมาณ
   
ลำดับที่
รายการ
งบประมาณ (บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1.2 ค่าใช้สอย
1.3 ค่าวัสดุ
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
  รวมทั้งสิ้น 0,000
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
18.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) ได้ข้อมูลต่างๆเพื่อใช้ในการกำหนดทิศทางการบริหารจัดการหมวดพืชไร่
2) บุคลากรมีความรู้และทักษะการทำงานและมีความชำนาญมากขึ้น
3) สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างอาจารย์และบุคลากรทุกระดับ
19.
การติดตามประเมินผล
แบบสอบถาม
20.
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับโครงการ
อาจารย์และบุคลากรเข้าร่วมโครงการไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
19.
การป้องกันความเสี่ยง
ประชาสัมพันธ์และเชิญชวนให้อาจารย์และบุคลากรเห็นความสำคัญของโครงการ
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้ควบคุมโครงการ

นายวัชชิระ สอนผา
นักวิชาการเกษตร
........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้อนุมัติโครงการ

รศ.ดร.ปรเทศ บรรเทิง)
ผู้ประสานงานสาขาพืชไร่
........../........../..........