1.
ชื่อโครงการ: 
ส่งเสริมสุขภาพ
2.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี คณะเกษตรศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์: 3. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างความเป็นเลิศในการบริหารจัดการ
    เป้าประสงค์: เป้าประสงค์ มีระบบบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาล มีบุคลากรที่มีคุณภาพ มีเทคโนโลยีและสารสนเทศที่ทันสมัยที่เชื่อมโยงทุกภารกิจของมหาวิทยาลัย และมีแนวทาง วิธีการหารายได้เพื่อการพึ่งตนเอง
 
กลยุทธ์:  3.2 กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลที่สนับสนุนการขับเคลื่อนไปสู่มหาวิทยาลัยวิจัยชั้นนำระดับโลก
 
มาตรการ:  3.2.1 มาตรการที่ 1 การจัดระบบบริหารจัดการให้มีความคล่องตัว และใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ
 
ตัวชี้วัด:  1.1 (4) มีตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการประจำปี และค่าเป้าหมายของแต่ละตัวบ่งชี้เพื่อวัดความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปี
3.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประเด็นยุทธศาสตร์:  1. ระบบบริหารจัดการที่ดี
 
กลยุทธ์:  1. ระบบบริหารจัดการที่ดี
 
มาตรการ:  1. ระบบบริหารจัดการที่ดี
 
ตัวชี้วัด:  1.1 (1) มีการจัดทำแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรในคณะและหน่วยงาน และได้รับความเห็นชอบจากกรรมการประจำคณะหรือกรรมการบริหารสูงสุด โดยเป็นแผนที่เชื่อมโยงกับปรัชญาหรือปณิธานและพระราชบัญญัติ ตลอดจนสอดคล้องกับจุดเน้นของคณ
4.
ความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น
ชื่อโครงการที่เกี่ยวข้อง:
    ลักษณะโครงการ: (   ) โครงการให้ผลผลิต/ผลลัพธ์แก่โครงการอื่น
( / ) โครงการที่ต้องดำเนินร่วมกัน
(   ) โครงการที่นำผลผลิต/ผลลัพธ์จากโครงการมาใช้
5.
ประเภทโครงการ
: (   ) งานประจำ
(   ) พัฒนางานประจำ
( / ) งานผลักดันยุทธศาสตร์
6.
ลักษณะโครงการ
: (   ) โครงการใหม่
(   ) โครงการต่อเนื่อง
7.
หลักการและเหตุผล
คณะเกษตรศาสตร์ และโรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ ได้เล็งเห็น ความสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพบุคลากรตามนโยบายการสร้างเสริมสุขภาพของ โรงพยาบาล และนโยบายของมหาวิทยาขอนแก่น ในการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการ สร้างเสริมสุขภาพสุขภาพ (Healthy campus) จึงได้กำหนดนโยบายให้มีการดำเนิน การตรวจ สุขภาพประจำปีอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งคัดกรองพฤติกรรมสุขภาพและความ เสี่ยงด้านสุขภาพของบุคลากรทุกคน เพื่อเฝ้าระวังสุขภาพ ค้นหาบุคลากรและปัจจัย เสี่ยงด้านสุขภาพต่อโรคเรื้อรัง ซึ่งโรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง และอื่นๆ ซึ่งปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคดังกล่าว ได้แก่ การบริโภค อาหาร ที่ไม่ถูกต้อง ขาดการออกกำลังกาย มีความเครียดจากการปฏิบัติงาน และการ สูบบุหรี่ ปัจจัยเหล่านี้สามารถทำให้ เกิดโรคเรื้อรังได้ง่าย โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุ 40 ปี ขึ้นไป ด้วยปัญหาดังกล่าวข้างต้น โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ ร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงเห็นสมควรที่จะจัดให้มี โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของบุคลากรคณะเกษตรศาสตร์เพื่อ เป็นการป้องกันความเสี่ยงของการเกิดโรคเรื้อรัง เพื่อให้มีความรู้ในการป้องกันโรคที่อาจ จะเกิดขึ้นได้และเพื่อจะได้ตรวจวินิจฉัยโรคเป็นเบื้องต้น ซึ่งหากพบความผิดปกติ จะได้รีบรักษาให้หายขาดตั้งแต่เริ่มแรก
8.
วัตถุประสงค์โครงการ
1) 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ถูกต้อง สามารถปฏิบัติตัว ได้อย่างเหมาะสม เพื่อป้องกันปัจจัยเสี่ยงที่จะทำให้เกิดโรค
2) 2.เพื่อกระตุ้นให้ผู้เข้าร่วมโครงการเห็นความสำคัญของการตรวจสุขภาพและการสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง
3) 3.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับเพศและวัยของตนเอง
9.
กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตการดำเนินการ
บุคลากรคณะเกษตรศาสตร์ จำนวน 115 คน
บรรยายวิชาการให้ความรู้
10.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต
1) ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และมีความเข้าใจที่ถูกต้อง และสามารถป้องกัน ปัจจัย เสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคได้
2) ผู้เข้าร่วมโครงการเข้ารับการตรวจสุขภาพและสามารถสร้างเสริมสุขภาพของ ตนเองได้
3) ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้

ผลลัพธ์
1) ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และมีความเข้าใจที่ถูกต้อง และสามารถป้องกัน ปัจจัย เสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคได้
2) ผู้เข้าร่วมโครงการเข้ารับการตรวจสุขภาพและสามารถสร้างเสริมสุขภาพของ ตนเองได้
3) ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้
11.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และมีความเข้าใจที่ถูกต้อง และสามารถป้องกัน ปัจจัย เสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคได้
12.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับนโยบาย
รองคณบดีฝ่ายบริหาร
13.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับปฏิบัติการ
นางสาวอำนวย เลิศล้ำ
14.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม 21/2/2560
    ว/ด/ป สิ้นสุด 21/2/2560
15.
สถานที่ดำเนินการ
ห้องประชุมกวี จุลติกุล อาคาร AG 08 คณะเกษตรศาสตร์
16.
วิธีการดำเนินการและขั้นตอนกิจกรรม
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
เดือน/ปี ที่เริ่ม-สิ้นสุด
1)
บรรยายวิชาการให้ความรู้
2)
ตรวจสุขภาพพิเศษและให้คำปรึกษาด้านสุขภาพ
3)
จัดนิทรรศการความรู้สุขภาพ
4)
ประเมินผลการปฏิบัตงาน
17.
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
   
ลำดับที่
รายการ
งบประมาณ (บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1)
ค่าใช้จ่ายสำหรับวิทยากร50,000
2)
0,000
1.2 ค่าใช้สอย
1)
อาหารว่างและเครืองดืมและค่าเลี้ยงรับรอง6,900
2)
ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 80 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 115 คน9,200
1.3 ค่าวัสดุ
1)
ค่าดอกไม้ตกแต่งเวที พิธีเปิด (ตัดริบบิ้น)2,000
2)
ค่าอุปกรณ์ตกแต่งสถานที่ที่ในบริเวณจัดงานทั้งหมด/จัดบอร์ดนิทรรศการ 2,000
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
  รวมทั้งสิ้น 26,100
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
18.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และมีความเข้าใจที่ถูกต้อง และสามารถป้องกัน ปัจจัย เสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคได้
2) ผู้เข้าร่วมโครงการเข้ารับการตรวจสุขภาพและสามารถสร้างเสริมสุขภาพของ ตนเองได้
3) ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้
19.
การติดตามประเมินผล
จำนวนผู้เข้ารับการประชุมไม่ต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนด
20.
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับโครงการ
1จำนวนผู้ร่วมโครงการไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
19.
การป้องกันความเสี่ยง
1ประชาสัมพันธ์และเชิญชวนให้เห็นความสำคัญของโครงการ 2วางแผนการศึกษาแนวทางในการจัดทำโครงการ 3กำหนดเวลาในการจัดกิจกรรมตรวจสุขภาพประจำปีให้ชัดเจน
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้ควบคุมโครงการ

นางสาวอำนวย เลิศล้ำ
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้อนุมัติโครงการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิชญ์รัตน์ แสนไชยสุริยา
รองคณบดีฝ่ายบริหาร
........../........../..........