1.
ชื่อโครงการ: 
ศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จน*
2.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี คณะเกษตรศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์: 2. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เป็นอุทยานการเรียนรู้ตลอดชีวิตของสังคม
    เป้าประสงค์: เป้าประสงค์ เป็นอุทยานการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่สร้างแรงบันดาลใจในการที่จะเรียนรู้และจุดประกายความคิดสร้างสรรค์ให้กับเยาวชนและสังคม
 
กลยุทธ์:  2.1 กลยุทธ์ที่ 1 การพัฒนาอุทยานการเกษตร (Agro Park)
 
มาตรการ:  2.1.1 มาตรการที่ 1 พัฒนาอุทยานการเรียนรู้ทางการเกษตร
 
ตัวชี้วัด: 
3.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประเด็นยุทธศาสตร์: 
 
กลยุทธ์: 
 
มาตรการ: 
 
ตัวชี้วัด: 
4.
ความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น
ชื่อโครงการที่เกี่ยวข้อง:
    ลักษณะโครงการ: (   ) โครงการให้ผลผลิต/ผลลัพธ์แก่โครงการอื่น
(   ) โครงการที่ต้องดำเนินร่วมกัน
(   ) โครงการที่นำผลผลิต/ผลลัพธ์จากโครงการมาใช้
5.
ประเภทโครงการ
: (   ) งานประจำ
(   ) พัฒนางานประจำ
( / ) งานผลักดันยุทธศาสตร์
6.
ลักษณะโครงการ
: ( / ) โครงการใหม่
(   ) โครงการต่อเนื่อง
7.
หลักการและเหตุผล
คณะเกษตรศาสตร์เป็นคณะเกษตรที่ค้นคว้าเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่เหมาะสมและถ่ายทอดสู่ชุมชน นอกจากนี้ทางคณะเกษตรศาสตร์ได้มีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกหลายองค์กร จึงต้องเพิ่มบทบาทในการนำเทคโนโลยีสู่ชุมชนมากขึ้น โครงการศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแบบองค์รวม (ศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จน) เกิดขึ้นโดยความร่วมมือระหว่างมูลนิธิมีไชย วีระไวทยะ มูลนิธิตะวันฉายเพื่อผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่เเละพิการทางศรีษะเเละใบหน้า คณะเเพทย์ศาสตร์ เเละคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีวัตถุประสงค์ เพื่อต้องการดูแลผู้ป่วยปากเเหว่งเพดานโหว่อย่างบูรณาการเเละสมบูรณ์แบบตลอดจนการเพิ่มคุณภาพชีวิตครอบครัวผู้ป่วยปากเเหว่งเพดานโหว่ที่ทีฐานะยากจนให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น จึงได้เกิดแนวคิดโครงการความร่วมมือในการช่วยเหลือผู้ป่วยเเละครอบครัว ด้วยการจัดทำแปลงเกษตรสาธิต 1 ไร่ 1 ล้าน เเก้จนเพื่อส่งเสริมอาชีพให้ความรู้ด้านการเกษตรแก่กลุ่มครอบครัวผู้ป่วยปากเเหว่งเพดานโหว่เเละผู้สนใจ นักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไป เป้าหมายสำคัญคือ การพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งในด้านสุขภาพ การศึกษา เศรษฐานะ สังคมเเละชุมชน โดยมุ่งสู่ชุมชนแบบองค์รวมเเละยั่งยืนต่อไป
8.
วัตถุประสงค์โครงการ
1) ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างมูลนิธิตะวันฉาย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มูลนิธิมีชัย วีระไวทยะ และคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพิ่มประสิทธิภาพภารกิจการให้บริการวิชาการแก่ชุมชนของคณะเกษตรศาสตร์
2) ใช้ศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จนนี้ เป็นแหล่งให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยโรคจมูกแหว่งเพดานโหว่ และผู้ที่สนใจทั่วไป เข้ามาเรียนรู้ วิธีทำการเกษตรพอเพียง ซึ่งไม่ใช้สารเคมี
3) เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จน ให้การฝึกอบรม เป็นแหล่งให้บริการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรต่างๆ แก่หน่วยงานภายนอก เกษตรกร และประชาชนทั่วไป ในหลายด้าน เช่น การทำนะนาวนอกฤดู การปลูกผัก การเพาะเห็ด การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การเลี้ยงจิ้งหรีด เป็นต้น
9.
กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตการดำเนินการ
ผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยโรคจมูกแหว่งเพดานโหว่ นักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจทั่วไป
ศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จน
10.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต
1) ความร่วมมือในเชิงพัฒนาชุมชน ระหว่างมหาวิทยาลัยขอนแก่นและสถาบันภาคีอื่น
2) มีผักปลอดสารจำหน่ายที่ Agro outlet KKU และจำหน่ายให้แก่บุคลากรของคณะเกษตรศาสตร์

ผลลัพธ์
1) ความร่วมมือในเชิงพัฒนาชุมชน ระหว่างมหาวิทยาลัยขอนแก่นและสถาบันภาคีอื่น
2) ศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จนได้ให้ความรู้เเก่ผู้สนใจ ในรูปแบบการฝึกอบรม เช่น การทำมะนาวนอกฤดู เเละการผลิตเห็ด เป็นต้น
3) การปลูกผักปลอดสารส่งจำหน่ายที่ Agro outlet KKU เพื่อเป็นผลิตภัณฑ์จากคณะเกษตรศาสตร์ เเละสร้างรายได้ให้กับศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จน
4) ศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จน ได้ให้นักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์เข้ามามีส่วนร่วมในเเต่ละกิจกรรมไม่ว่าจะเป็น การปลูกพืช การเก็บเกี่ยว การจำหน่ายผลผลิต เป็นการสร้างรายได้ระหว่างเรียนเเละช่วยเป็นวิทยากรให้ความรู้แก่กลุ่มที่เข้ามาศึกษาดูงานเป็นการเพิ่มพูนทักษะความรู้ให้กับนักศึกษา
5) ศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จนเป็นสถานที่ในการเก็บตัวอย่างในวิชาเรียนของนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ เช่น เเมลงศัตรูพืชชนิดต่างๆตลอดจนโรคพืช
11.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
1) แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าศึกษาดูงาน
12.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับนโยบาย
รองคณบดีฝ่ายวิจัยและการต่างประเทศ
13.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับปฏิบัติการ
นายภูมิพัฒน์ พรมเมตตา
14.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม 3/10/2559
    ว/ด/ป สิ้นสุด 29/9/2560
15.
สถานที่ดำเนินการ
ศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จน อุทยานเทคโนโลยีการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
16.
วิธีการดำเนินการและขั้นตอนกิจกรรม
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
เดือน/ปี ที่เริ่ม-สิ้นสุด
1)
กำหนดแผนการดำเนินงานตุลาคม 59 - ตุลาคม 59
2)
ดำเนินการตามแผนดำเนินการของแต่ละโครงการย่อยตุลาคม 59 - กันยายน 60
17.
งบประมาณ
งบประมาณยุทธศาสตร์ศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จน
   
ลำดับที่
รายการ
งบประมาณ (บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1)
ค่าตอบแทน84,000
1.2 ค่าใช้สอย
1)
น้ำมันเชื้อเพลิง3,000
1.3 ค่าวัสดุ
1)
วัสดุการเกษตร34,000
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
1)
-0,000
  รวมทั้งสิ้น 121,000
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
18.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) ความร่วมมือระหว่างสถาบันภาคีในการให้บริการทางวิชาการแก่ชุมชน
2) ศูนย์ได้ให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเข้าชมส่วนที่แสดงเทคโนโลยี
19.
การติดตามประเมินผล
แบบประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการ
20.
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับโครงการ
1.ผลการปฏิบัติงานที่อาจล่าช้าเนื่องจากผู้ปฏิบัติงานภาคสนามมีน้อย 2.งบประมาณไม่เพียงพอ
19.
การป้องกันความเสี่ยง
1.การวางแผนปฏิบัติงานให้กระจายทั้งปีงบประมาณ 2.กำหนดจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 3.หางบประมาณสมทบจากสถาบันภาคี
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้ควบคุมโครงการ

นายจิรวัฒน์ สนิทชน
รองคณบดีฝ่ายยุทธศาสตร์ชุมชน
........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้อนุมัติโครงการ

นายมนต์ชัย ดวงจินดา
คณบดี
........../........../..........