1.
ชื่อโครงการ: 
ศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จน*
2.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม 3/10/2559
    ว/ด/ป สิ้นสุด 29/9/2560
3.
วัตถุประสงค์โครงการ
1) ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างมูลนิธิตะวันฉาย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มูลนิธิมีชัย วีระไวทยะ และคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพิ่มประสิทธิภาพภารกิจการให้บริการวิชาการแก่ชุมชนของคณะเกษตรศาสตร์
2) ใช้ศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จนนี้ เป็นแหล่งให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยโรคจมูกแหว่งเพดานโหว่ และผู้ที่สนใจทั่วไป เข้ามาเรียนรู้ วิธีทำการเกษตรพอเพียง ซึ่งไม่ใช้สารเคมี
3) เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จน ให้การฝึกอบรม เป็นแหล่งให้บริการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรต่างๆ แก่หน่วยงานภายนอก เกษตรกร และประชาชนทั่วไป ในหลายด้าน เช่น การทำนะนาวนอกฤดู การปลูกผัก การเพาะเห็ด การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การเลี้ยงจิ้งหรีด เป็นต้น
4.
สถานที่ดำเนินการ
ศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จน อุทยานเทคโนโลยีการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
5.
วิธีการและขั้นตอนการดำเนินโครงการ
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
1)
กำหนดแผนการดำเนินงาน
2)
ดำเนินการตามแผนดำเนินการของแต่ละโครงการย่อย
6.
งบประมาณรายจ่ายจริง
   
ลำดับที่
รายการ
(บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1)
ค่าตอบแทน 109,000
1.2 ค่าใช้สอย
1)
น้ำมันเชื้อเพลิง 0,000
1.3 ค่าวัสดุ
1)
วัสดุการเกษตร 5,250
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
1)
- 0,000
  รวมทั้งสิ้น 114,250
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
7.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) ความร่วมมือระหว่างสถาบันภาคีในการให้บริการทางวิชาการแก่ชุมชน
2) ศูนย์ได้ให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเข้าชมส่วนที่แสดงเทคโนโลยี
8.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต
1) ความร่วมมือในเชิงพัฒนาชุมชน ระหว่างมหาวิทยาลัยขอนแก่นและสถาบันภาคีอื่น
2) มีผักปลอดสารจำหน่ายที่ Agro outlet KKU และจำหน่ายให้แก่บุคลากรของคณะเกษตรศาสตร์

ผลลัพธ์
1) ความร่วมมือในเชิงพัฒนาชุมชน ระหว่างมหาวิทยาลัยขอนแก่นและสถาบันภาคีอื่น
2) ศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จนได้ให้ความรู้เเก่ผู้สนใจ ในรูปแบบการฝึกอบรม เช่น การทำมะนาวนอกฤดู เเละการผลิตเห็ด เป็นต้น
3) การปลูกผักปลอดสารส่งจำหน่ายที่ Agro outlet KKU เพื่อเป็นผลิตภัณฑ์จากคณะเกษตรศาสตร์ เเละสร้างรายได้ให้กับศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จน
4) ศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จน ได้ให้นักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์เข้ามามีส่วนร่วมในเเต่ละกิจกรรมไม่ว่าจะเป็น การปลูกพืช การเก็บเกี่ยว การจำหน่ายผลผลิต เป็นการสร้างรายได้ระหว่างเรียนเเละช่วยเป็นวิทยากรให้ความรู้แก่กลุ่มที่เข้ามาศึกษาดูงานเป็นการเพิ่มพูนทักษะความรู้ให้กับนักศึกษา
5) ศูนย์เรียนรู้เกษตรแก้จนเป็นสถานที่ในการเก็บตัวอย่างในวิชาเรียนของนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ เช่น เเมลงศัตรูพืชชนิดต่างๆตลอดจนโรคพืช
9.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
1) แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าศึกษาดูงาน
.
สรุปภาพรวมความสำเร็จโครงการตามตัวชี้วัด
10.
การติดตามประเมินผล
แบบประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการ
11.
ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน
12.
ข้อเสนอแนะ
13.
ความเห็น/ข้อชี้แนะในการดำเนินงานครั้งต่อไป
14.
ผ่านที่ประชุม
.
เมื่อวันที่
>
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้รับผิดชอบโครงการ/ผู้ทำรายงาน

นายภูมิพัฒน์ พรมเมตตา
พนักงานการเกษตร
........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้ควบคุมโครงการ

นายจิรวัฒน์ สนิทชน
รองคณบดีฝ่ายยุทธศาสตร์ชุมชน
........../........../..........