1.
ชื่อโครงการ: 
เผยแพร่และประชาสัมพันธ์หลักสูตร
2.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี คณะเกษตรศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์: 4. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้านการผลิตบัณฑิต
    เป้าประสงค์: เป้าประสงค์ บัณฑิตจากคณะเกษตรศาสตร์ เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ ผู้ที่มีคุณธรรม มีจริยธรรม มีความรู้ความสามารถเชิงวิชาชีพ เป็นบัณฑิตที่ “พร้อมทำงาน” อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ ในสังคมอย่างมีความสุข และพร้อมก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21
 
กลยุทธ์:  4.3 กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาระบบการรับเข้าที่มีความหลากหลาย
 
มาตรการ:  4.3.1 มาตรการที่ 1 สร้างระบบและกลไกเพื่อจูงใจคนที่มีคุณภาพให้เข้ามาศึกษาสาขาเกษตรศาสตร์
 
ตัวชี้วัด: 
3.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประเด็นยุทธศาสตร์:  3. การพัฒนานักศึกษา
 
กลยุทธ์:  3. การพัฒนานักศึกษา
 
มาตรการ:  3. การพัฒนานักศึกษา
 
ตัวชี้วัด: 
4.
ความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น
ชื่อโครงการที่เกี่ยวข้อง:
    ลักษณะโครงการ: (   ) โครงการให้ผลผลิต/ผลลัพธ์แก่โครงการอื่น
(   ) โครงการที่ต้องดำเนินร่วมกัน
( / ) โครงการที่นำผลผลิต/ผลลัพธ์จากโครงการมาใช้
5.
ประเภทโครงการ
: (   ) งานประจำ
(   ) พัฒนางานประจำ
( / ) งานผลักดันยุทธศาสตร์
6.
ลักษณะโครงการ
: (   ) โครงการใหม่
(   ) โครงการต่อเนื่อง
7.
หลักการและเหตุผล
หลักสูตรการศึกษาที่ดี ย่อมสะท้อนถึงความนิยมชมชอบจาดผู้เข้ารับการศึกษา ดังนั้น จำนวนักศึกษาที่มีในหลักสูตร ตลอดจนคุณภาพของนักศึกษา หรือบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา จึงเป็นหนึ่งในอีกหลายตัวชี้วัดที่แดสงถึงการบริหารหลักสูตรที่ประสบผลสำเร็จ และมีประสิทะิภาพ อย่างไรก็ตาม ก้าวแรกของการผลิตบัณฑิตที่ดี คือช่องทางการประชาสัมพันธ์ เพื่อสื่อสารถึงการมีอยู่ของหลักสูตรที่มีคุณภาพ ตลอดจนการรับเข้าศึกษาต่อ ที่มีความหลากหลาย อันจะนำมาซึ่งการรับรู้ที่ดีของผู้มีส่วนเกี่ยงข้องตลอดจนบุคคลเป้าหมายที่ต้องการศึกษาต่อ มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงเห็นได้ว่างานประชาสัมพันธ์หลักสูตรนั้น มีความสำคัญและจำเป็น
8.
วัตถุประสงค์โครงการ
1) พัฒนาการรับเข้าที่มีความหลากหลาย
9.
กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตการดำเนินการ
กลุ่มผู้รับบริการเป้าหมาย นักเรียนในระดับมัธยมปลายและนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่สนใจจะศึกษาต่อ
อาคารสาขาพืชสวน และโรงแรมชั้นนำ
10.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต
1) ป้ายประชาสัมพันธ์หลักสูตรในสาขาพืชสวน

ผลลัพธ์
1) จำนวนนักศึกษาที่เข้าศึกษาต่อของสาขาพืชสวนมีมากขึ้น
11.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
1) จำนวนนักศึกษาที่เข้าศึกษาต่อในสาขาพืชสวนเพิ่มขึ้น 10-30%
12.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับนโยบาย
ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรการเกษตร สาขาพืชสวน
13.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับปฏิบัติการ
ผปส.พืชสวน/อ.ภาณุพล หงษ์ภักดี
14.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม 3/10/2559
    ว/ด/ป สิ้นสุด 29/9/2560
15.
สถานที่ดำเนินการ
อาคารปฏิบัติการสาขาพืชสวน
16.
วิธีการดำเนินการและขั้นตอนกิจกรรม
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
เดือน/ปี ที่เริ่ม-สิ้นสุด
1)
จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์หลักสูตรของสาขาพืชสวน
17.
งบประมาณ
   
ลำดับที่
รายการ
งบประมาณ (บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1.2 ค่าใช้สอย
1.3 ค่าวัสดุ
1)
ค่าป้ายประชาสัมพันธ์หลักสูตร5,000
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
  รวมทั้งสิ้น 5,000
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
18.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) เกิดเป็นระบบและกลไกส่วนหนึ่ง ในการพลักดันให้จูงใจคนที่มีคุณภาพให้เข้าศึกษาต่อในสาขาพืชสวน เพิ่มมากขึ้น 10-30%
19.
การติดตามประเมินผล
20.
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับโครงการ
ปัจจัยการรับเข้านักศึกษา และศึกษาต่อขึ้นอยู่กับเป้าหมายของคณะเกษตรศาสตร์ และมหาวิทยาลัย
19.
การป้องกันความเสี่ยง
ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ จำนวนรับเข้า ตลอดจนช่องทางในการประชาสัมพันธ์ตามนโยบายจากส่วนกลาง
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้ควบคุมโครงการ

นายภาณุพล หงษ์ภักดี
อาจารย์
........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้อนุมัติโครงการ



........../........../..........