1.
ชื่อโครงการ: 
ศูนย์เรียนรู้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพและปุ๋ยมูลไส้เดือนดินเพือการเกษตรและสิ่งแวดล้อม 2-11-1
2.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี คณะเกษตรศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์: 2. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เป็นอุทยานการเรียนรู้ตลอดชีวิตของสังคม
    เป้าประสงค์: เป้าประสงค์ เป็นอุทยานการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่สร้างแรงบันดาลใจในการที่จะเรียนรู้และจุดประกายความคิดสร้างสรรค์ให้กับเยาวชนและสังคม
 
กลยุทธ์:  2.1 กลยุทธ์ที่ 1 การพัฒนาอุทยานการเกษตร (Agro Park)
 
มาตรการ:  2.1.1 มาตรการที่ 1 พัฒนาอุทยานการเรียนรู้ทางการเกษตร
 
ตัวชี้วัด:  2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร2.1 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
3.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประเด็นยุทธศาสตร์:  2. การผลิตบัณฑิตที่ดี
 
กลยุทธ์:  2. การผลิตบัณฑิตที่ดี
 
มาตรการ:  2. การผลิตบัณฑิตที่ดี
 
ตัวชี้วัด:  2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร2.1 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
4.
ความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น
ชื่อโครงการที่เกี่ยวข้อง: -
    ลักษณะโครงการ: (   ) โครงการให้ผลผลิต/ผลลัพธ์แก่โครงการอื่น
(   ) โครงการที่ต้องดำเนินร่วมกัน
(   ) โครงการที่นำผลผลิต/ผลลัพธ์จากโครงการมาใช้
5.
ประเภทโครงการ
: (   ) งานประจำ
(   ) พัฒนางานประจำ
( / ) งานผลักดันยุทธศาสตร์
6.
ลักษณะโครงการ
: (   ) โครงการใหม่
(   ) โครงการต่อเนื่อง
7.
หลักการและเหตุผล
ด้วยสาขาทรัพยากรที่ดินและสิ่งแวดล้อม ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรการเกษตร มีความประสงค์จะจัดโครงการศูนย์เรียนรู้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพและปุ๋ยมูลไส้เดือนดินเพื่อการเกษตรและสิ่งแวดล้อม (ENV 2-11-1) เพื่อเป็นอุทยานการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่สร้างแรงบันดาลใจในการที่จะเรียนรู้และจุดประกายความคิดสร้างสรรค์ให้กับเยาวชนและสังคม และปลูกฝังให้นักศึกษามีความเป็นผู้นำในด้านการบริหารจัดการ
8.
วัตถุประสงค์โครงการ
1) 1. เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพและปุ๋ยมูลไส้เดือนดินเพื่อการเกษตรและสิ่งแวดล้อมแก่นักศึกษา
2) 2. เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการที่จะเรียนรู้และจุดประกายความคิดสร้างสรรค์ให้กับเยาวชนและสังคม
9.
กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตการดำเนินการ
อาจารย์ นักศึกษา สาขาทรัพยากรที่ดินและสิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ และบุคคลภายนอกที่สนใจ
10.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต
1) - อาจารย์และนักศึกษาสามารถพัฒนาองค์ความรู้ที่มีอยู่ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งกว่าเดิมและบุคคลภายนอกสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่แก่บุคคลอื่นให้เกิดประโยชน์ต่อไปได้

ผลลัพธ์
1) - อาจารย์และนักศึกษาสามารถพัฒนาองค์ความรู้ที่มีอยู่ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งกว่าเดิม
11.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
1) 1. มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย เกณฑ์การให้คะแนน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดร้อยละ 75 เท่ากับ 5 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดร้อยละ 75 เท่ากับ 5 คะแนน
12.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับนโยบาย
ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรการเกษตร สาขาทรัพยากรที่ดินและสิ่งแวดล้อม
13.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับปฏิบัติการ
ผปส.ทรัพยากรที่ดินฯ
14.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม 22/7/2560
    ว/ด/ป สิ้นสุด 31/7/2560
15.
สถานที่ดำเนินการ
หมวดดินและปุ๋ย
16.
วิธีการดำเนินการและขั้นตอนกิจกรรม
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
เดือน/ปี ที่เริ่ม-สิ้นสุด
1)
จัดทำโครงการศูนย์เรียนรู้ ณ หมวดดินและปุ๋ยโดยดำเนินการสร้างเรือนทดรองขึ้นมาจำนวน 1 หลัง เพื่อใช้ดำเนินการสร้างศูนย์เรียนรู้ให้แก่นักศึกษากรกฎาคม 60 - กรกฎาคม 60
17.
งบประมาณ
40000
   
ลำดับที่
รายการ
งบประมาณ (บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1.2 ค่าใช้สอย
1)
ค่าจ้างเหมา25,000
2)
ค่าแรง15,000
1.3 ค่าวัสดุ
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
  รวมทั้งสิ้น 40,000
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
18.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) อาจารย์และนักศึกษาได้รับความรู้จากศูนย์เรียนรู้และบุคคลภายนอกที่สนใจได้รับประโยชน์จากการได้เข้ามาศึกษา
19.
การติดตามประเมินผล
- แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินโครงการ
20.
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับโครงการ
-
19.
การป้องกันความเสี่ยง
-
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้ควบคุมโครงการ

รศ.ดร.ชุลีมาศ บุญไทย อิวาย
ผู้ประสานงานสาขาฯ
........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้อนุมัติโครงการ

ผศ.ดร.ดวงรัตน์ ธงภักดิ์
รองหัวหน้าภาควิชาพืชศาสตร์ฯ
........../........../..........