1.
ชื่อโครงการ: 
การสนับสนุนประเพณีไหว้ครู
2.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี คณะเกษตรศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์: 4. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้านการผลิตบัณฑิต
    เป้าประสงค์: เป้าประสงค์ บัณฑิตจากคณะเกษตรศาสตร์ เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ ผู้ที่มีคุณธรรม มีจริยธรรม มีความรู้ความสามารถเชิงวิชาชีพ เป็นบัณฑิตที่ “พร้อมทำงาน” อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ ในสังคมอย่างมีความสุข และพร้อมก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21
 
กลยุทธ์:  4.4 กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนานักศึกษาอย่างสร้างสรรค์ให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ของสังคม
 
มาตรการ:  4.4.4 มาตรการที่ 4 สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาด้านการสร้างจิตสำนึก จิตสาธารณะ และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม และพัฒนาตนเอง
 
ตัวชี้วัด: 
3.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประเด็นยุทธศาสตร์: 
 
กลยุทธ์: 
 
มาตรการ: 
 
ตัวชี้วัด: 
4.
ความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น
ชื่อโครงการที่เกี่ยวข้อง:
    ลักษณะโครงการ: (   ) โครงการให้ผลผลิต/ผลลัพธ์แก่โครงการอื่น
(   ) โครงการที่ต้องดำเนินร่วมกัน
(   ) โครงการที่นำผลผลิต/ผลลัพธ์จากโครงการมาใช้
5.
ประเภทโครงการ
: (   ) งานประจำ
(   ) พัฒนางานประจำ
( / ) งานผลักดันยุทธศาสตร์
6.
ลักษณะโครงการ
: (   ) โครงการใหม่
(   ) โครงการต่อเนื่อง
7.
หลักการและเหตุผล
ประเพณีการไหว้ครูถือเป็นเอกลักษณ์ทางประเพณีอันดีงามของชาวไทย ที่ลูกศิษย์พึงแสดงความเคารพเทิดทูนคุณครูบาอาจารย์ ผู้ถ่ายทอดสรรพวิชาความรู้ให้ด้วยความรัก ความเมตตา และปรารถนาดี ครูจึงเป็นบุคคลที่มีความสำคัญ มีคุณค่าต่อประเทศชาติ การไหว้ครู จึงเป็นเสมือนการแสดงความกตัญญูกตเวทิตาคุณต่อครูผู้มีพระคุณ ซึ่งในวัฒนธรรมไทยได้ให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นการแสดงถึงการรู้จักบุญคุณของผู้ให้ความรู้ และผู้ที่รู้จักการตอบแทนบุญคุณนั้นจะเป็นผู้ที่เจริญรุ่งเรืองในชีวิต สาขาโรคพืชวิทยาจึงได้ตระหนักถึงความสำคัญของครู-อาจารย์ อีกทั้งมุ่งมั่นที่จะรักษาไว้ซึ่งขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของไทย เพื่อให้นักศึกษาทุกระดับชั้นของสาขาฯ ได้แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวที ความนอบน้อม ต่อครู-อาจารย์ที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาให้แก่นักศึกษา และร่วมกันอนุรักษ์สืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของไทยสืบไป
8.
วัตถุประสงค์โครงการ
1) เพื่อให้นักศึกษาแสดงความกตัญญูกตเวทีและระลึกถึงคุณครูอาจารย์
2) เพื่อเป็นการอนุรักษ์และสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีไทยอันดีงามสืบไป
3) เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างครูอาจารย์และลูกศิษย์ รวมถึงบุคลากรในสาขาโรคพืชวิทยา อีกทั้งสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
9.
กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตการดำเนินการ
คณาจารย์, อาจารย์อาวุโส และบุคลากรสาขาโรคพืชวิทยา , นักศึกษาสาขาโรคพืชวิทยา ในระดับปริญญาตรี ชั้นปี 3,4 และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
10.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต
1) - คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

ผลลัพธ์
1) นักศึกษาได้แสดงกตัญญูกตเวที ระลึกถึงบุญคุณอาจารย์
2) ได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และสืบสานประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามของไทย
3) ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างครูอาจารย์กับนักศึกษา และบุคลากรในสาขาฯ
4) ก่อให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ และส่งเสริมให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อสถาบัน
11.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
12.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับนโยบาย
ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรการเกษตร สาขาโรคพืชวิทยา
13.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับปฏิบัติการ
ผปส.โรคพืชวิทยา/อ.สุวิตา แสไพศาล
14.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม 31/8/2560
    ว/ด/ป สิ้นสุด 31/8/2560
15.
สถานที่ดำเนินการ
ห้องปฏิบัติการ 1 อาคาร Ag 07 ชั้น 4
16.
วิธีการดำเนินการและขั้นตอนกิจกรรม
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
เดือน/ปี ที่เริ่ม-สิ้นสุด
17.
งบประมาณ
เงินรายได้
   
ลำดับที่
รายการ
งบประมาณ (บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1.2 ค่าใช้สอย
1)
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม1,000
1.3 ค่าวัสดุ
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
  รวมทั้งสิ้น 0,000
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
18.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) นักศึกษาได้แสดงความเคารพนบนอบ และระลึกถึงบุญคุณของครู-อาจารย์
2) นักศึกษาได้มีส่วนร่วมอนุรักษ์และสืบสานขนบธรรมประเพณีอันดีงามของไทย
3) ได้สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างครูอาจารย์กับนักศึกษา และสร้างความสามัคคีในหมู่นักศึกษา
19.
การติดตามประเมินผล
20.
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับโครงการ
-
19.
การป้องกันความเสี่ยง
-
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้ควบคุมโครงการ

ผศ.ดร.อนันต์ วงเจริญ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้อนุมัติโครงการ

รศ.ดร.วีระศักดิ์ ศักดิ์ศิริรัตน์
ผู้ประสานงานสาขาโรคพืชวิทยา
........../........../..........