1.
ชื่อโครงการ: 
ปรับปรุงภูมิทัศน์ หมวดสาขากีฏวิทยา
2.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี คณะเกษตรศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์: 2. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เป็นอุทยานการเรียนรู้ตลอดชีวิตของสังคม
    เป้าประสงค์: เป้าประสงค์ เป็นอุทยานการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่สร้างแรงบันดาลใจในการที่จะเรียนรู้และจุดประกายความคิดสร้างสรรค์ให้กับเยาวชนและสังคม
 
กลยุทธ์:  2.2 กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้และการพักอาศัยที่นำสมัย (Learning and Living Smart)
 
มาตรการ:  2.2.1 มาตรการที่ 1 การพัฒนาพื้นที่การเรียนรู้และระบบสนับสนุน lifelong learning
 
ตัวชี้วัด: 
3.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประเด็นยุทธศาสตร์: 
 
กลยุทธ์: 
 
มาตรการ: 
 
ตัวชี้วัด: 
4.
ความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น
ชื่อโครงการที่เกี่ยวข้อง:
    ลักษณะโครงการ: (   ) โครงการให้ผลผลิต/ผลลัพธ์แก่โครงการอื่น
( / ) โครงการที่ต้องดำเนินร่วมกัน
(   ) โครงการที่นำผลผลิต/ผลลัพธ์จากโครงการมาใช้
5.
ประเภทโครงการ
: (   ) งานประจำ
( / ) พัฒนางานประจำ
(   ) งานผลักดันยุทธศาสตร์
6.
ลักษณะโครงการ
: (   ) โครงการใหม่
(   ) โครงการต่อเนื่อง
7.
หลักการและเหตุผล
นักศึกษาในหลักสูตรกีฏวิทยา นอกจากจะรู้เรื่องในศาสตร์ที่ตนเองสนใจแล้วต้องเรียนรู้เรื่องแมลงทุกด้าน โดยเฉพาะในสภาพพื้นที่จริง รวมทั้งมีปฏิสัมพันธ์ต่อผู้อื่นโดยเฉพาะเพื่อนในสายงานเดียวกัน เพื่อประโยชน์ในการร่วมงานและประกอบอาชีพในอนาคต สาขากีฏวิทยา จึงได้เสนอโครงการปรับปรุงอาคารและภูมิทัศน์ งานไร่กีฏวิทยา เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสเรียนรู้เกี่ยวกับแมลงในสภาพธรรมชาติ รวมทั้งมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันระหว่างนักศึกษา มีความร่วมแรงร่วมใจ ก่อให้เกิดความสามัคคี อันนำไปสู่ความร่วมมือที่ดีต่อกันในอนาคต
8.
วัตถุประสงค์โครงการ
1) นักศึกษามีโอกาสฝึกทักษะและเพิ่มพูนความรู้เรื่องแมลงเพิ่มเติมจากสภาพธรรมชาติ
2) เสริมสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักศึกษา
9.
กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตการดำเนินการ
1. นักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จำนวน 50 คน 2. อาจารย์และเจ้าหน้าที่สาขากีฏวิทยา จำนวน 10 คน
10.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต
1) - บัณฑิตที่มีคุณภาพ
2) - อาคารมีสภาพสวยงาม น่าใช้

ผลลัพธ์
1) - นักศึกษาได้รับประสบการณ์ในการทำงานร่วมกัน และความสัมพันธ์อันดีระหว่างเพื่อนร่วมสาขา
11.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
12.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับนโยบาย
ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรการเกษตร สาขากีฏวิทยา
13.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับปฏิบัติการ
นางชุตินันท์ ชูสาย
14.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม 7/12/2559
    ว/ด/ป สิ้นสุด 7/12/2559
15.
สถานที่ดำเนินการ
งานไร่กีฏวิทยา
16.
วิธีการดำเนินการและขั้นตอนกิจกรรม
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
เดือน/ปี ที่เริ่ม-สิ้นสุด
1)
พัฒนา ปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ ในพื้นที่งานไร่ ได้แก่ ทาสีภายนอกอาคารเลี้ยงไหม ปูอิฐทางเดิน ปลูกต้นไม้และจัดสวน ทำความสะอาดรอบพื้นที่
17.
งบประมาณ
5775
   
ลำดับที่
รายการ
งบประมาณ (บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1.2 ค่าใช้สอย
1)
ค่าอาหารกลางวัน4,400
2)
ค่าอาหารว่าง1,375
1.3 ค่าวัสดุ
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
  รวมทั้งสิ้น 5,700
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
18.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) งานไร่มีสภาพภูมิทัศน์ที่ดี เหมาะแก่การทำกิจกรรมและการใช้ประโยชน์ต่างๆในงานไร่
2) บุคลากรและนักศึกษาทุกชั้นปีมีความสามัคคี มีจิตอาสา ความภูมิใจ รัก และหวงแหนในสถาบัน
3) นักศึกษามีความคิดสร้างสรรค์ และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
4) นักศึกษาได้ฝึกความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
19.
การติดตามประเมินผล
แบบสอบถาม
20.
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับโครงการ
19.
การป้องกันความเสี่ยง
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้ควบคุมโครงการ



........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้อนุมัติโครงการ



........../........../..........