1.
ชื่อโครงการ: 
โครงการศึกษาดูงานกีฏวิทยาป่าไม้
2.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี คณะเกษตรศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์: 4. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้านการผลิตบัณฑิต
    เป้าประสงค์: เป้าประสงค์ บัณฑิตจากคณะเกษตรศาสตร์ เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ ผู้ที่มีคุณธรรม มีจริยธรรม มีความรู้ความสามารถเชิงวิชาชีพ เป็นบัณฑิตที่ “พร้อมทำงาน” อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ ในสังคมอย่างมีความสุข และพร้อมก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21
 
กลยุทธ์:  4.2 กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนสำหรับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
 
มาตรการ:  4.2.1 มาตรการที่ 1 การจัดระบบสนับสนุนการเรียนการสอน
 
ตัวชี้วัด: 
3.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประเด็นยุทธศาสตร์: 
 
กลยุทธ์: 
 
มาตรการ: 
 
ตัวชี้วัด: 
4.
ความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น
ชื่อโครงการที่เกี่ยวข้อง:
    ลักษณะโครงการ: (   ) โครงการให้ผลผลิต/ผลลัพธ์แก่โครงการอื่น
(   ) โครงการที่ต้องดำเนินร่วมกัน
( / ) โครงการที่นำผลผลิต/ผลลัพธ์จากโครงการมาใช้
5.
ประเภทโครงการ
: (   ) งานประจำ
(   ) พัฒนางานประจำ
( / ) งานผลักดันยุทธศาสตร์
6.
ลักษณะโครงการ
: ( / ) โครงการใหม่
(   ) โครงการต่อเนื่อง
7.
หลักการและเหตุผล
ด้วยภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรการเกษตร สาขากีฏวิทยา มีความประสงค์ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เกี่ยวกับแมลงในทุกด้าน เพื่อเป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์ในเรื่องนิเวศวิทยาของแมลงและความหลากหลายทางชีวภาพในสภาพแวดล้อมจริงตามธรรมชาติและเป็นการส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้นอกชั้นเรียน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องนำนักศึกษาไปเรียนรู้นอกสถานที่ ซึ่งช่วยให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรง รวมทั้งส่งผลให้การเรียนกีฏวิทยาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
8.
วัตถุประสงค์โครงการ
1) เพื่อให้นักศึกษาสาขากีฏวิทยา ได้รับความรู้ทักษะด้านกีฏวิทยาป่าไม้และนิเวศวิทยาของแมลง มากขึ้น
2) เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสฝึกทักษะและเพิ่มพูนความรู้ด้านกีฏวิทยาที่นอกเหนือจากการเรียน ในชั้นเรียน
3) เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลด้านแมลงกับเจ้าหน้าที่จากศูนย์วิจัยกีฏวิทยาป่าไม้ที่ 2 จังหวัดขอนแก่น
9.
กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตการดำเนินการ
3.1 นักศึกษาในหลักสูตรกีฏวิทยา ชั้นปีที่ 4 จำนวน 23 คน 3.2 อาจารย์ บุคลากร และพนักงานขับรถ จำนวน 5 คน รวม 28 คน
10.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต

ผลลัพธ์
11.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
12.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับนโยบาย
ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรการเกษตร สาขากีฏวิทยา
13.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับปฏิบัติการ
นางสาวดวงรัตน์ ธงภักดิ์
14.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม 19/11/2559
    ว/ด/ป สิ้นสุด 20/11/2559
15.
สถานที่ดำเนินการ
ณ ศูนย์วิจัยกีฏวิทยาป่าไม้ ที่ 2 จังหวัดขอนแก่น และเขื่อนจุฬาภรณ์ จังหวัดชัยภูมิ
16.
วิธีการดำเนินการและขั้นตอนกิจกรรม
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
เดือน/ปี ที่เริ่ม-สิ้นสุด
1)
ศึกษาดูงานนอกสถานที่
2)
ศึกษาวิธีการเก็บรวบรวมตัวอย่างแมลงศัตรูป่าไม้ ณ ศูนย์วิจัยกีฏวิทยาป่าไม้ที่ 2 จังหวัดขอนแก่น
3)
ฝึกปฏิบัติการเก็บรวบรวมแมลงศัตรูป่าไม้โดยกับดักแสงไฟ ณ ณ เขื่อนจุฬาภรณ์ จังหวัดชัยภูมิ
4)
ศึกษาแมลงในเส้นทางธรรมชาติ ณ เขื่อนจุฬาภรณ์ จังหวัดชัยภูมิ
5)
เยี่ยมชมแปลงปลูกป่าธรรมชาติของเกษตรกร ในพื้นที่อำเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ
17.
งบประมาณ
10000
   
ลำดับที่
รายการ
งบประมาณ (บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1)
เบี้ยเลี้ยง2,400
1.2 ค่าใช้สอย
1)
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง1,200
2)
ค่าที่พัก1,690
3)
อาหารและเครื่องดื่ม4,710
1.3 ค่าวัสดุ
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
  รวมทั้งสิ้น 10,000
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
18.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในด้านกีฏวิทยาป่าไม้และนิเวศวิทยาของแมลงเพิ่มขึ้น จากการ ทัศนศึกษานอกสถานที่
2) นักศึกษาได้รับประสบการณ์ จากการฝึกทักษะและเพิ่มพูนความรู้ด้านกีฏวิทยาที่นอกเหนือ จากการเรียนในชั้นเรียน
3) นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลด้านแมลงกับเจ้าหน้าที่จากศูนย์วิจัยกีฏวิทยาป่าไม้ที่ 2 จังหวัดขอนแก่น
19.
การติดตามประเมินผล
ประเมินผลของโครงการในครั้งนี้ว่าประสบความสำเร็จหรือไม่ โดยการทำแบบสอบถามผู้ร่วมโครงการหลังจากได้ทำการทัศนศึกษาแล้ว ยกตัวอย่างการประเมินผล 1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในด้านกีฏวิทยามากยิ่งขึ้น 2. นักศึกษามีความพึงพอใจในการทัศนศึกษาและทำกิจกรรมนอกสถานที่ 3. นักศึกษาและอาจารย์ได้มีการพูดคุยกันมากขึ้น
20.
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับโครงการ
19.
การป้องกันความเสี่ยง
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้ควบคุมโครงการ



........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้อนุมัติโครงการ



........../........../..........