1.
ชื่อโครงการ: 
ปรับปรุงภูมิทัศน์สาขาพืชสวน
2.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี คณะเกษตรศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์: 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว
    เป้าประสงค์: เป้าประสงค์ คณะเกษตรศาสตร์มีบรรยากาศที่ร่มรื่น เป็นธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดีที่เกื้อหนุนให้เกิดการเรียนรู้ การพัฒนานองค์ความรู้
 
กลยุทธ์:  1.1 กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาพื้นที่และสิ่งแวดล้อมให้เป็นแคมปัสที่เขียวและสะอาด (Green and Clean Campus)
 
มาตรการ:  1.1.1 มาตรการที่ 1 การพัฒนาพื้นที่สีเขียวและสิ่งแวดล้อม
 
ตัวชี้วัด:  2.5 (5) มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคารตลอดจนบริเวณโดยรอบ อย่างน้อยในเรื่องประปา ไฟฟ้า ระบบกำจัดของเสีย การจัดการขยะ รวมทั้งมีระบบและอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยในบริเวณอาคารต่าง ๆ โดยเป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
3.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประเด็นยุทธศาสตร์:  1. ระบบบริหารจัดการที่ดี
 
กลยุทธ์:  1. ระบบบริหารจัดการที่ดี
 
มาตรการ:  1. ระบบบริหารจัดการที่ดี
 
ตัวชี้วัด:  2.5 (5) มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคารตลอดจนบริเวณโดยรอบ อย่างน้อยในเรื่องประปา ไฟฟ้า ระบบกำจัดของเสีย การจัดการขยะ รวมทั้งมีระบบและอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยในบริเวณอาคารต่าง ๆ โดยเป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
4.
ความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น
ชื่อโครงการที่เกี่ยวข้อง:
    ลักษณะโครงการ: (   ) โครงการให้ผลผลิต/ผลลัพธ์แก่โครงการอื่น
(   ) โครงการที่ต้องดำเนินร่วมกัน
(   ) โครงการที่นำผลผลิต/ผลลัพธ์จากโครงการมาใช้
5.
ประเภทโครงการ
: (   ) งานประจำ
(   ) พัฒนางานประจำ
( / ) งานผลักดันยุทธศาสตร์
6.
ลักษณะโครงการ
: (   ) โครงการใหม่
(   ) โครงการต่อเนื่อง
7.
หลักการและเหตุผล
สภาพแวดล้อมมีผลต่ออารมณ์และความรู้สึกของผู้ใช้สถานที่ การมีสภาพแวดล้อมที่ดี จึงมีส่วนช่วยสนับสนุนและส่งเสริมบรรยากาศในการทำงาน พื้นที่มีสีเขียวนอกจากมีอิทธิพลต่อความรู้สึกนึกคิดในเชิงผ่อนคลายแล้ว ยังสมารถช่วยลดความตึงเครียดจากการทำงานได้ด้วย เนื่องจากเป็นสิ่งที่ถ่ายทอดความเป็นธรรมชาติไว้ได้มากที่สุด การปรับปรุงภูมิทัศน์และบริเวณโดยรอบอาคารเรียน เช่น การจัดสวนหย่อม พื้นที่สีเขียว (AG green zone)จัดบริเวณจอดรถให้เป็นสัดส่วนและมีระบบไฟฟ้าแสงสว่างและความปลอดภัย ทำให้บริเวณสาขามีสภาพน่ามอง สะอาดสะอ้าน จึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อการรองรับกิจกรรมและการใช้งาน ตลอดจนส่งเสริมบรรยากาศการศึกษาของนักศึกษา และผู้ที่มาติดต่อราชการ
8.
วัตถุประสงค์โครงการ
1) เสริมสร้างบรรยากาศอันน่าร่มรื่นที่สนับสนุนการทำงานของบุคลากร การเรียนรู้ของนักศึกษาและความพึงพอใจของผู้มาติดต่อราชการ
9.
กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตการดำเนินการ
บุคลากรและนักศึกษา สาขาวิชาพืชสวน
บริเวณโดยรอบอาคารสาขาพืชสวน
10.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต
1) ภูมิทัศน์ที่สวยงามและความสะอาดของบริเวณโดยรอบ

ผลลัพธ์
1) ความรื่นรมย์ของบุคลากร นักศึกษาและผู้มาติดต่อราชการ
11.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
1) จำนวนพื้นที่สีเขียว และความสะอาดของบริเวณโดยรอบ
12.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับนโยบาย
สาขาพืชสวน
13.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับปฏิบัติการ
นายเชาวลิต สีลาดเลา/อ.รณรงค์ อยู่เกตุ
14.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม 1/10/2561
    ว/ด/ป สิ้นสุด 30/9/2562
15.
สถานที่ดำเนินการ
บริเวณโดยรอบอาคารสาขาวิชาพืชสวน
16.
วิธีการดำเนินการและขั้นตอนกิจกรรม
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
เดือน/ปี ที่เริ่ม-สิ้นสุด
1)
ดำเนินการออกแบบจัดสวนหย่อม ตลอดจนพัฒนาบริเวณโดยรอบอาคาร สาขาวิชาพืชสวน และจัดจ้างคนดูแลทำความสะอาดตุลาคม 61 - กันยายน 62
17.
งบประมาณ
   
ลำดับที่
รายการ
งบประมาณ (บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1.2 ค่าใช้สอย
1.3 ค่าวัสดุ
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
  รวมทั้งสิ้น 20,000
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
18.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) สาขาพืชสวนมีสภาพแวดล้อม และภูมิทัศน์สะอาด เรียบร้อย สวยงาม มีความปลอดภัย
2) นักศึกษามีที่พักผ่อนบริเวณสาขาวิชาพืชสวน
19.
การติดตามประเมินผล
แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการ บุคลากร นักศึกษาและผู้มาติดต่อราชการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
20.
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับโครงการ
ระยะเวลาการดำเนินการไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับเวลาที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ
19.
การป้องกันความเสี่ยง
ใช้เงินสำรองในการดำเนินงาน
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้ควบคุมโครงการ

นายเชาวลิต สีลาดเลา
พนักงานการเกษตร
........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้อนุมัติโครงการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุภัทร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา
หัวหน้าสาขาวิชาพืชสวน
........../........../..........