1.
ชื่อโครงการ: 
ปรับปรุงประสิทธิภาพการเรียนการสอน
2.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี คณะเกษตรศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์: 4. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้านการผลิตบัณฑิต
    เป้าประสงค์: เป้าประสงค์ บัณฑิตจากคณะเกษตรศาสตร์ เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ ผู้ที่มีคุณธรรม มีจริยธรรม มีความรู้ความสามารถเชิงวิชาชีพ เป็นบัณฑิตที่ “พร้อมทำงาน” อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ ในสังคมอย่างมีความสุข และพร้อมก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21
 
กลยุทธ์:  4.2 กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนสำหรับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
 
มาตรการ:  4.2.1 มาตรการที่ 1 การจัดระบบสนับสนุนการเรียนการสอน
 
ตัวชี้วัด:  2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร2.1 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
3.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประเด็นยุทธศาสตร์:  2. การผลิตบัณฑิตที่ดี
 
กลยุทธ์:  2. การผลิตบัณฑิตที่ดี
 
มาตรการ:  2. การผลิตบัณฑิตที่ดี
 
ตัวชี้วัด:  2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร2.1 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
4.
ความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น
ชื่อโครงการที่เกี่ยวข้อง:
    ลักษณะโครงการ: (   ) โครงการให้ผลผลิต/ผลลัพธ์แก่โครงการอื่น
(   ) โครงการที่ต้องดำเนินร่วมกัน
(   ) โครงการที่นำผลผลิต/ผลลัพธ์จากโครงการมาใช้
5.
ประเภทโครงการ
: (   ) งานประจำ
(   ) พัฒนางานประจำ
( / ) งานผลักดันยุทธศาสตร์
6.
ลักษณะโครงการ
: (   ) โครงการใหม่
(   ) โครงการต่อเนื่อง
7.
หลักการและเหตุผล
สาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีความรู้ ความสามารถทางวิชาการ มีคุณธรรมและจริยธรรม มีทักษะและความรับผิดชอบในการทำงาน รวมทั้งการใช้ชีวิตในสังคม ใฝ่รู้และสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต และสมรรถนะการทำงานระดับสากล สามารถแข่งขันกับนานาชาติได้ มีการจัดทำหลักสูตรตามแบบที่สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้ มีการปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด ใช้สะท้อนผลการเรียนรู้ของผู้เรียน บัณฑิต และผู้ประกอบการที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้มีความก้าวหน้า และมีมาตรฐานทันสภาวะการเปลี่ยนแปลงของบริบทสังคม สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ มีการเพิ่มเติมเนื้อหารายวิชาให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ประกอบกับการเปิดรายวิชาเลือกให้คลอบคลุม กับสายงานทางวิชาการพืชสวน การพัฒนาหลักสูตรที่ดีต้องประกอบด้วยการวางแผน การจัดการ เตรียมการ ตั้งแต่ร่าง การเสนอพิจารณา การวิพากษ์ การตรวจประเมินตามขั้นตอนข้อบังคับของหมาวิทยาลัย และสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาแห่งชาติ (สกอ) ซึ่งคลอบคลุมระยะเวลาดำเนินการเกือบ 2 ปี เพื่อให้การดำเนินโครงการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการประชุม หารือสัมมนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการพัฒนาและปรับปรุงเนื้อหาและรายวิชาต่างๆ ในหลักสูตรปรับปรุงปี 2560 จึงมีความสำคัญยิ่งโดยมุ่งหวังให้หลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาพืชสวนมีคุณภาพ มาตรฐาน เพื่อเป็นฐานในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม ตามหลักวิชาการ และวิชาชีพในสายงานพืชสวน
8.
วัตถุประสงค์โครงการ
1) เพื่อจัดทำแผนการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาพืชสวน (หลักสูตรปรับปรุงปี 2560) ให้สอดคล้องตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
2) เพื่อจัดทำ ปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาพืชสวน (หลักสูตรปรับปรุงปี 2560) ให้มีความทันสมัยต่อสภาพสังคมเศรษฐกิจ และผู้เรียนในยุคปัจจุบัน
3) เพื่อให้คณาจารย์ประจำสาขาวิชาพืชสวนได้มีโอกาสพัฒนาการเรียนการสอน งานวิจัย และเนื้อหาวิชาการให้เหมาะสมกับหลักสูตรยิ่งขึ้น
4) พื่อแลกเปลี่ยนการเรียนการสอน การวิพากษ์หลักสูตร ประกอบการพัฒนาและปรับปรุง การประชุมบริหารหลักสูตร จัดการหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาให้มีความสมบูรณ์ มีประสิทธิภาพต่อผู้เรียนและ ทันสมัย
5) บุคลากรมีการพัฒนาความรู้ ได้ปรับปรุง และนำความรู้มาพัฒนาองค์กร และวางแผนการหารายได้เพื่อนำมาดำเนินการจัดการภายในองค์กรให้ดำเนินการอย่างเป็นระบบ และคล่องตัว
9.
กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตการดำเนินการ
คณาจารย์และบุคลากรสาขาวิชาพืชสวน ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการเรียนการสอน
10.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต
1) ต้นฉบับหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตและหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาพืชสวนหลักสูตรปรับปรุง ปี 2560 ที่มีคุณภาพกรอบมาตรฐานตามคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
2) ข้อมูลกลยุทธ์ด้านการเรียนการสอนสำหรับพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งผลสะท้อนการเรียนรู้
3) กรอบทิศทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร รายวิชา และแนวทางการบริหารหลักสูตร

ผลลัพธ์
1) บัณฑิตมีผลลัพธ์การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์และปรัชญาของหลักสูตร
2) ผู้เรียนเห็นกระบวนการเรียนรู้ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดี
3) หลักสูตรสาขาวิชาพืชสวน รายวิชา ตอบสนองผู้เรียน
11.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
1) สามารถดำเนินการจัดทำหลักสูตรได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด
2) ต้นฉบับหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาพืชสวน จำนวน 2 หลักสูตรปรับปรุง 2560
3) รายวิชา การจัดการ และแผนการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาพืชสวน
12.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับนโยบาย
สาขาพืชสวน
13.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับปฏิบัติการ
ผศ.ดร.สุภัทร์ อิสรางกูร ณ อยุธยา
14.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม 19/6/2562
    ว/ด/ป สิ้นสุด 21/6/2562
15.
สถานที่ดำเนินการ
จ.ภูเก็ต
16.
วิธีการดำเนินการและขั้นตอนกิจกรรม
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
เดือน/ปี ที่เริ่ม-สิ้นสุด
17.
งบประมาณ
   
ลำดับที่
รายการ
งบประมาณ (บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1.2 ค่าใช้สอย
1.3 ค่าวัสดุ
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
  รวมทั้งสิ้น 60,000
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
18.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) ได้ต้นฉบับหลักสูตรบัณฑิตศึกษาสาขาวิชาพืชสวน หลักสูตรปรับปรุงปี 2560 ทั้งระดับปริญญาโทและปริญญาเอก รวมทั้งแผน แนวทาง และการบริหารหลักสูตรสาขาพืชสวนที่สอดคล้องตามกรอบมาตรฐานTQF
19.
การติดตามประเมินผล
คู่มือหลักสูตรพืชสวนและแบบประเมินโครงการ
20.
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับโครงการ
1.การกรอกรายละเอียดและรายงานผลการจัดการเรียนรู้ไม่ทันตามกำหนดเวลา ส่งผลให้ข้อมูลประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการร่างอาจล่าช้า 2.รายละเอียดและขอบเขตวิชาที่จะใช้สำหรับหลักสูตรปรับปรุง 2560 3.กรอบ แนวทาง และจุดเด่นของหลักสูตรให้สอดคล้องกับผู้เรียนและสังคมในอนาคต
19.
การป้องกันความเสี่ยง
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้ควบคุมโครงการ



........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้อนุมัติโครงการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุภัทร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา
หัวหน้าสาขาวิชาพืชสวน
........../........../..........