1.
ชื่อโครงการ: 
พัฒนาทักษะทางด้านพืชสวน
2.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี คณะเกษตรศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์: 4. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้านการผลิตบัณฑิต
    เป้าประสงค์: เป้าประสงค์ บัณฑิตจากคณะเกษตรศาสตร์ เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ ผู้ที่มีคุณธรรม มีจริยธรรม มีความรู้ความสามารถเชิงวิชาชีพ เป็นบัณฑิตที่ “พร้อมทำงาน” อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ ในสังคมอย่างมีความสุข และพร้อมก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21
 
กลยุทธ์:  4.2 กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนสำหรับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
 
มาตรการ:  4.2.1 มาตรการที่ 1 การจัดระบบสนับสนุนการเรียนการสอน
 
ตัวชี้วัด: 
3.
ความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประเด็นยุทธศาสตร์:  2. การผลิตบัณฑิตที่ดี
 
กลยุทธ์:  2. การผลิตบัณฑิตที่ดี
 
มาตรการ:  2. การผลิตบัณฑิตที่ดี
 
ตัวชี้วัด: 
4.
ความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น
ชื่อโครงการที่เกี่ยวข้อง:
    ลักษณะโครงการ: (   ) โครงการให้ผลผลิต/ผลลัพธ์แก่โครงการอื่น
(   ) โครงการที่ต้องดำเนินร่วมกัน
(   ) โครงการที่นำผลผลิต/ผลลัพธ์จากโครงการมาใช้
5.
ประเภทโครงการ
: (   ) งานประจำ
(   ) พัฒนางานประจำ
( / ) งานผลักดันยุทธศาสตร์
6.
ลักษณะโครงการ
: (   ) โครงการใหม่
(   ) โครงการต่อเนื่อง
7.
หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันสถานการณ์การผลิตพืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ และไม้ผลหลายชนิดในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง โดยมีการนำเอาเทคโนโลยีและองค์ความรู้ใหม่ๆ มาใช้ในการผลิตพืชให้ได้ผลผลิตดี ดังนั้นการสร้างนักศึกษาให้กลายเป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์นั้น จำเป็นที่จะต้องให้ทั้งวิชาการความรู้ และทักษะความชำนาญเชี่ยวชาญในการประกอบอาชีพ ตลอดจนการทำกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อเป็นประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดความเข้าใจอันดี และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม การเข้าใจความต้องการในการเลือกที่จะศึกษาสาขาที่ถนัดและสนใจของตนเอง เป็นเรื่องพื้นฐานที่สำคัญจำเป็น การเรียนรู้ผ่านการศึกษาดูงานในสาขาที่เกี่ยวข้อง จะเป็นการต่อยอดไปสู่ความสำเร็จในอนาคตได้ สาขาวิชาพืชสวนได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในด้านกิจกรรมเสริมหลักสูตร โดยเฉพาะการศึกษาดูงานและการเข้าร่วมการประชุมทางวิชาการ อันเป็นการเปิดโลกทัศน์และทำให้นักศึกษามีโอกาสรับฟังการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้จากงานวิจัยทางด้านพืชสวนในระดับประเทศ ในครั้งนี้ได้สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมรับฟัง การประชุมการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 17 ภายใต้หัวข้อ สู่ก้าวใหม่ของพืชสวนไทย: To the New Frontiers of Horticulture เพื่อให้นักศึกษาสาขาวิชาพืชสวนได้มีโอกาสในการเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ ได้เรียนรู้กับสถานการณ์ปัจจุบัน อันจะเป็นประโยชน์ต่อการประกอบวิชาชีพ และเป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ต่อไป
8.
วัตถุประสงค์โครงการ
1) เพื่อเป็นการเสริมสร้างความรู้ และเพิ่มพูนประสบการณ์ทางด้านการผลิตพืช ให้แก่นักศึกษาสาขาพืชสวน
9.
กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตการดำเนินการ
นักศึกษาในสาขาวิชาพืชสวน
ในระหว่างวันที่ 17-21 พฤศจิกายน 2561 (รวม 5 วัน)
10.
ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ
ผลผลิต
1) เพื่อเป็นการเสริมสร้างความรู้ และเพิ่มพูนประสบการณ์ทางด้านการผลิตพืช ให้แก่นักศึกษาสาขาพืชสวน

ผลลัพธ์
1) นักศึกษาเปิดโลกทัศน์ แนวคิด เกิดมุมมองใหม่ๆทางวิชาการ และเกิดแรงกระตุ้นในการเรียนรู้ทางพืชสวน
11.
ดัชนีวัดความสำเร็จ
12.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับนโยบาย
สาขาพืชสวน
13.
ผู้รับผิดชอบโครงการระดับปฏิบัติการ
นายสมยศ มีทา
14.
ระยะเวลา
ว/ด/ป เริ่ม 17/11/2561
    ว/ด/ป สิ้นสุด 21/11/2561
15.
สถานที่ดำเนินการ
จ.เชียงใหม่
16.
วิธีการดำเนินการและขั้นตอนกิจกรรม
มีวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
   
ลำดับ
กิจกรรม/ขั้นตอน
เดือน/ปี ที่เริ่ม-สิ้นสุด
1)
ส 17 พฤศจิกายน 2561 เดินทางออกจากสาขาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รับประทานอาหารกลางวัน จ. เพชรบูรณ์ เข้าที่พัก จ. เชียงใหม่
2)
อา 18 พฤศจิกายน 2561 ศึกษาดูงานการผลิตพืชเมืองหนาว บนพื้นที่สูง จ.เชียงใหม่ (โครงการหลวง)
3)
จ 19 พฤศจิกายน 2561 เข้าร่วมรับฟัง การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 17
4)
อ 20 พฤศจิกายน 2561 เข้าร่วมรับฟัง การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 17
5)
พ 21 พฤศจิกายน 2561 ออกเดินทางกลับมหาวิทยาลัยขอนแก่น
17.
งบประมาณ
80000
   
ลำดับที่
รายการ
งบประมาณ (บาท)
1.1 ค่าตอบแทน
1)
ค่าน้ำมันรถบัส 1 คัน22,000
2)
ค่าจ้างเหมารถตู้วันละ 3500x 5วัน17,500
1.2 ค่าใช้สอย
1)
เบี้ยเลี้ยง พขร. 2 คน (240 บาท x 5 วันx 2 คน)2,400
2)
เบี้ยเลี้ยงอาจารย์และบุคลากร 3 คน (3 คน x 240 บาท x 5 วัน)3,600
3)
ค่าที่พักบุคลากร (2 ห้องx1,500 บาทx 4 คืน) 12,000
4)
ค่าที่พักนักศึกษา (56คน x100 บาทx 4 คืน)22,400
1.3 ค่าวัสดุ
1.4 ค่าครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง
  รวมทั้งสิ้น 80,000
  หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ  
18.
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
1) นักศึกษาบัณฑิตศึกษาได้แลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการ ได้เพิ่มพูนประสบการณ์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ปัจจุบัน
19.
การติดตามประเมินผล
20.
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับโครงการ
19.
การป้องกันความเสี่ยง
     

 

 

ลงชื่อ.........................................ผู้ควบคุมโครงการ

นายสมยศ มีทา
หัวหน้าโครงการ
........../........../..........

 

ลงชื่อ....................................ผู้อนุมัติโครงการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุภัทร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา
หัวหน้าสาขาวิชาพืชสวน
........../........../..........